การเกิดลิ่มเลือดและสิ่งหลุดอุดหลอดเลือดภายหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19

การเกิดลิ่มเลือดและสิ่งหลุดอุดหลอดเลือดภายหลังการได้รับวัคซีน (อังกฤษ: post-vaccination embolic and thrombotic event), ภาวะเกล็ดเลือดต่ำจากภูมิคุ้มกันชนิดทำให้เกิดลิ่มเลือดที่ถูกชักนำด้วยวัคซีน (อังกฤษ: vaccine-induced prothrombotic immune thrombocytopenia, VIPIT)[1], ภาวะเกล็ดเลือดต่ำจากภูมิคุ้มกันที่ถูกชักนำด้วยวัคซีน (อังกฤษ: vaccine-induced thrombotic thrombocytopenia, VITT)[2][3] หรือ กลุ่มอาการเกล็ดเลือดต่ำและมีลิ่มเลือด (อังกฤษ: thrombotis with thrombocytopenia syndrome, TTS)[4] เป็นโรคที่ร่างกายมีการสร้างลิ่มเลือดอย่างผิดปกติที่พบได้น้อยมากชนิดหนึ่ง ถูกพบครั้งแรกในคนจำนวนน้อยที่เคยได้รับวัคซีนโควิด-19 ของออกซฟอร์ด-แอสตราเซเนกา[a]ในช่วงการระบาดทั่วของโควิด-19[1][8] และต่อมาก็พบในคนที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 ของจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน[b] ทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องประเมินความปลอดภัยของวัคซีนเหล่านี้ใหม่อีกครั้ง[10]

การเกิดลิ่มเลือดและสิ่งหลุดอุดหลอดเลือดภายหลังการได้รับวัคซีน
(post-vaccination embolic and thrombotic event)
ชื่ออื่นvaccine-induced prothrombotic immune thrombocytopenia (VIPIT), vaccine-induced thrombotic thrombocytopenia (VITT), thrombotis with thrombocytopenia syndrome (TTS)
เกล็ดเลือดต่ำ เป็นอาการหนึ่งของภาวะนี้
การตั้งต้น5-28 วัน หลังได้วัคซีน
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ, การตรวจนับเม็ดเลือด, การตรวจดีไดเมอร์
ความชุกพบ 390 ราย จากการฉีดวัคซีน (AZD1222) 24.6 ล้านครั้ง
การเสียชีวิตเสียชีวิต 71 ราย จากผู้ป่วย 390 คน (AZD1222)

เชิงอรรถ แก้

  1. วัคซีนโควิด-19 ของออกซฟอร์ด-แอสตราเซเนกา เดิมมีชื่อรหัสระหว่างการวิจัยว่า AZD1222,[5] ต่อมาจึงได้จำหน่ายในชื่อการค้าหลายชื่อ เช่น Vaxzevria[6] และ Covishield.[7]
  2. วัคซีนโควิด-19 ของจอห์นสันแอนด์จอห์นสันยังเป็นที่รู้จักในชื่อวัคซีนโควิด-19 ของแจนเซ่น[9] วัคซีนนี้ผลิตโดยบริษัทแจนเซ่นฟาร์มาซูติคอล ซึ่งเป็นบริษัทที่ถือครองโดยจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Public Health Agency of Canada, [Agence de la santé publique du Canada] (29 March 2021). "Use of AstraZeneca COVID-19 vaccine in younger adults" (Utilisation du vaccin AstraZeneca contre la COVID-19 chez les jeunes adultes). Government of Canada. สืบค้นเมื่อ 2 April 2021.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Grein-2021.Apr.09
  3. Cines, Douglas B.; Bussel, James B. (16 April 2021). "SARS-CoV-2 Vaccine–Induced Immune Thrombotic Thrombocytopenia". New England Journal of Medicine: NEJMe2106315. doi:10.1056/NEJMe2106315. PMID 33861524. สืบค้นเมื่อ 20 April 2021.
  4. Long, Brit; Bridwell, Rachel; Gottlieb, Michael (2021). "Thrombosis with thrombocytopenia syndrome associated with COVID-19 vaccines". The American Journal of Emergency Medicine. doi:10.1016/j.ajem.2021.05.054. ISSN 0735-6757. PMC 8143907.
  5. "AstraZeneca COVID-19 Vaccine (AZD1222)" (PDF). ACIP COVID-19 Emergency Meeting. AstraZeneca. 27 January 2021. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021.
  6. "Vaxzevria (previously COVID-19 Vaccine AstraZeneca): EPAR - Medicine overview (update)". European Medicines Agency (EMA). 12 April 2021 [18 February 2021]. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021. The name of the vaccine was changed to Vaxzevria on 25 March 2021. Vaxzevria (COVID-19 Vaccine (ChAdOx1-S recombinant) EMA/182334/2021 Text was copied from this source which is © European Medicines Agency. Reproduction is authorized provided the source is acknowledged.
  7. "Serum Institute Of India - ChAdOx1 nCoV- 19 Corona Virus Vaccine (Recombinant) - COVISHIELD". www.seruminstitute.com. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021.
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ema28mar
  9. "Janssen COVID-19 vaccine [Ad26.COV2.S, recombinant] Product monograph" (PDF). 5 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-05-16. สืบค้นเมื่อ 16 April 2021.
  10. Marks, Peter. "Joint CDC and FDA Statement on Johnson & Johnson COVID-19 Vaccine". สืบค้นเมื่อ 13 April 2021.