การรุกปราก (รัสเซีย: Пражская стратегическая наступательная операция, อักษรโรมัน: Prazhskaya strategicheskaya nastupatel'naya operatsiya การรุกปรากทางยุทธศาสตร์) เป็นปฏิบัติการสำคัญครั้งสุดท้ายของโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การรุกรานและสู้รบจากกรุงปราก เป็นการสู้รบในแนวรบด้านตะวันออก ตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม – 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 การสู้รบครั้งนี้ทำให้เมืองแห่งนี้กลายเป็นที่น่าจดจำในขณะที่ได้สิ้นสุดลงในช่วงหลังจากจักรวรรดิไรซ์ที่สามได้ยอมจำนน เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 การสู้รบครั้งนี้ได้มีเหตุการณ์ที่เหลือเชื่อในการสู้รบด้วยการก่อการกำเริบกรุงปราก

การรุกปราก
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) และสงครามโลกครั้งที่สอง

แผนที่ปฏิบัติการในการรุกปราก
วันที่6–11 พฤษภาคม 1945
สถานที่
ผล โซเวียตและฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะเด็ดขาด
คู่สงคราม

ฝ่ายอักษะ:
 ไรช์เยอรมัน
ฮังการีฮังการี[1]
สโลวาเกียสโลวาเกีย

ฝ่ายสัมพันธมิตร:
 สหภาพโซเวียต
เชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
 โรมาเนีย
โปแลนด์ โปแลนด์


รัสเซีย กองทัพปลดปล่อยรัสเซีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์
นาซีเยอรมนี Lothar Rendulic

สหภาพโซเวียต อีวาน โคเนฟ
Karel Klapálek
ราชอาณาจักรโรมาเนีย Vasile Atanasiu
ราชอาณาจักรโรมาเนีย Nicolae Dăscălescu
โปแลนด์ Karol Świerczewski



รัสเซีย Sergei Bunyachenko
กำลัง
Army Group Centre:
600,000-650,000[2]
Army Group Ostmark:
430,000[3]
ฮังการี 9,370[1]

สหภาพโซเวียต 1,770,700[4]
ราชอาณาจักรโรมาเนีย 139,500[4]
โปแลนด์ 69,500[4]
เชโกสโลวาเกีย 48,400[4]


รัสเซีย 18,000
ความสูญเสีย
Some 860,000 captured; remainder killed, missing in action, or fled

สหภาพโซเวียต 49,348[5]
ราชอาณาจักรโรมาเนีย 1,730[4]
โปแลนด์ 887[4]
เชโกสโลวาเกีย 533[4][a]


รัสเซีย 300
จอมพลอีวาน โคเนฟพบประชาชนในปรากหลังการรุกปราก

กรุงปรากได้รับการปลดปล่อยในที่สุดโดยกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตในช่วงการรุกปราก กองกำลังทหารเยอรมันทั้งหมดของกองทัพกลุ่มกลาง (Heeresgruppe Mitte) และจำนวนมากของกองทัพกลุ่มออสมาร์ค (Ostmark แต่เดิมมีชื่อว่า กองทัพกลุ่มใต้)ถูกฆ่าตายหรือถูกจับเป็นเชลยหรือไม่ก็หลบหนีไปยอมจำนนกับฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกในช่วงที่ยอมจำนนแล้ว การยอมจำนนของกองทัพกลุ่มกลางนั้นเป็นเวลาเพียงเก้าวันในภายหลังจากเบอร์ลินถูกยึดครองและสามวันหลังวันแห่งชัยชนะยุโรป

หมายเหตุ แก้

  1. Czech losses do not include those of the Prague Uprising or of partisan formations.

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Frajdl 2007.
  2. Lakowski 2008, p. 674.
  3. Ziemke 2002, p. 498.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 Krivosheev 1997, p. 159.
  5. Glantz 1995, p. 300.