การพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊ก

ยุทธการพิชิตจ๊กก๊ก เป็นสงครามครั้งสำคัญในยุคสามก๊กที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนกันยายน — พฤศจิกายน ค.ศ. 263 ระหว่างจ๊กก๊กที่นำโดยพระเจ้าเล่าเสี้ยนกับวุยก๊กที่นำโดยสุมาเจียว อันนำไปสู่การล่มสลายของจ๊กก๊กและสงครามครั้งนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นของการรวบรวมแผ่นดินของราชวงศ์จิ้นตะวันตกที่ขึ้นครองแผ่นดินต่อจากวุยก๊ก

การพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊ก
ส่วนหนึ่งของ สงครามในยุคสามก๊ก

ภาพเส้นทางการเข้าโจมตีจ๊กก๊กของวุยก๊ก
วันที่ป. กันยายนหรือตุลาคม[a] - พฤศจิกายนหรือธันวาคม ค.ศ. 263[b]
สถานที่
ผล วุยก๊กชนะ; จ๊กก๊กล่มสลาย
คู่สงคราม
วุยก๊ก จ๊กก๊ก
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สุมาเจียว
จงโฮย
เตงงาย
จูกัดสู
เล่าเสี้ยน Surrendered
เกียงอุย Surrendered
จูกัดเจี๋ยม 
กำลัง
160,000–180,000 นาย[c] 90,000–102,000 นาย[d]
การพิชิตจ๊กก๊กของวุยก๊ก
อักษรจีนตัวเต็ม魏滅蜀之戰
魏滅漢之戰
อักษรจีนตัวย่อ魏灭蜀之战
魏灭汉之战

หมายเหตุ แก้

  1. Zizhi Tongjian บันทึกว่าราชสำนักวุยก๊กมีพระราชกฤษฎีกาให้เตงงาย, จูกัดสู และจงโฮยนำกองทับวุยก๊กไปโจมตีจ๊กก๊กในสามทิศทาง โดยเกิดขึ้นในช่วงเดือน 5 ถึงเดือน 7 ปีที่ 4 ศักราช Jingyuan ในรัชกาลโจฮวน กองทัพวุยเดินทางถึงลั่วหยางในเดือน 8[1] เดือน 8 ปีที่ 4 ศักราช Jingyuan ตรงกับวันที่ 20 กันยายนถึง 19 ตุลาคม ค.ศ. 263 ตามปฏิทินกริกอเรียน
  2. ชีวประวัติของสุมาเจียวใน Jin Shu บันทึกว่า รายงานชัยชนะจากนายพลของวุยก๊กเดินทางมาถึงลั่วหยางในเดือน 10 ปีที่ 4 ศักราช Jingyuan ในรัชกาลโจฮวน[2] ซึ่งตรงกับวันที่ 18 พฤศจิกายน ถึง 17 ธันวาคม ค.ศ. 263 ตามปฏิทินกริกอเรียน
  3. ชีวประวัติของจงโฮยใน Sanguozhi บันทึกว่า เตงงายกับจูกัดสู แต่ละคนนำกองทัพ 30,000 นาย ส่วนจงโฮยนำกองทัพมากกว่า 100,000 นาย[3] ส่วนชีวประวัติสุมาเจียวใน Jin Shu บันทึกว่า กองทัพวุยก๊กในการทัพนี้มีทั้งหมด 180,000 นาย[4]
  4. สุมาเจียวประมาณการก่อนการรบว่าจ๊กก๊กมีกองทัพรวม 90,000 นาย (กองหน้า 50,000 นาย และประจำการที่เฉิงตูและดินแดนภายใน 40,000 นาย)[5] อย่างไรก็ตาม Shu Ji บันทึกว่า ตอนที่เล่าเสี้ยนยอมจำนนต่อเตงงาย จ๊กก๊กมีกองทัพ 102,000 นาย[6]

อ้างอิง แก้

  1. Sima (1084), vol. 78.
  2. ([景元四年]冬十月,天子以諸侯獻捷交至, ...) Jin Shu vol. 2.
  3. ([景元]四年秋,乃下詔使鄧艾、諸葛緒各統諸軍三萬餘人,艾趣甘松、沓中連綴維,緒趣武街、橋頭絕維歸路。會統十餘萬衆,分從斜谷、駱谷入。) Sanguozhi vol. 28.
  4. (於是征四方之兵十八萬, ...) Jin Shu vol. 2.
  5. (景元[四年]夏,帝將伐蜀,乃謀眾曰:「自定壽春已來,息役六年,治兵繕甲,以擬二虜。略計取吳,作戰船,通水道,當用千餘萬功,此十萬人百數十日事也。又南土下濕,必生疾疫。今宜先取蜀,三年之後,在巴蜀順流之勢,水陸並進,此滅虞定虢,吞韓並魏之勢也。計蜀戰士九萬,居守成都及備他郡不下四萬,然則餘眾不過五萬。今絆姜維於遝中,使不得東顧,直指駱穀,出其空虛之地,以襲漢中。彼若嬰城守險,兵勢必散,首尾離絕。舉大眾以屠城,散銳卒以略野,劍閣不暇守險,關頭不能自存。以劉禪之暗,而邊城外破,士女內震,其亡可知也。」) Jin Shu vol. 2.
  6. (又遣尚書郎李虎送士民簿, ... 帶甲將士十萬二千, ...) Shu Ji annotation in Sanguozhi vol. 33.
  • Chen, Shou (3rd century). Records of the Three Kingdoms (Sanguozhi).
  • Fang, Xuanling (648). Book of Jin (Jin Shu).
  • Killigrew, John H. (2001), "A Case Study of Chinese Civil Warfare: The Cao-Wei Conquest of Shu-Han in AD 263", Civil Wars, 4 (4): 95–114, doi:10.1080/13698240108402489
  • Luo, Guanzhong (14th century). Romance of the Three Kingdoms (Sanguo Yanyi).
  • Pei, Songzhi (5th century). Annotations to Records of the Three Kingdoms (Sanguozhi zhu).
  • Selected Examples of Battles in Ancient China (1st ed.). Beijing: Chinese Publishing House. 1984.
  • Sima, Guang (1084). Zizhi Tongjian.
  • Yuan, Tingdong (1988). War in Ancient China (1st ed.). Chengdu: Sichuan Academy of Social Science Publishing House. ISBN 7-80524-058-2.
  • Zhang, Xiaosheng (1988). General View of War of Ancient China (1st ed.). Beijing: Long March Publishing House. ISBN 7-80015-031-3.