กลุ่มค่ายปรับทัศนคติซินเจียง

กลุ่มค่ายปรับทัศนคติซินเจียง[9] (อังกฤษ: Xinjiang re-education camps) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ศูนย์อาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ (อังกฤษ: Vocational Education and Training Centers) โดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน (Communist Party of China; CPC) และรัฐบาลของประเทศจีน[10][11][12] เป็นกลุ่มของค่ายกักกันที่ดำเนินการโดยรัฐบาลเขตการปกครองพิเศษซินเขียงอุยกูร์และคณะกรรมการพรรคประจำมณฑล โดยมีเป้าหมายเพื่อการปลูกฝังค่านิยมใหม่ (indoctrinating) ให้กับชาวอุยกูร์และชาวมุสลิมอื่น ๆ นับตั้งแต่ปี 2017[3] เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ "สงครามของประชาชนต่อการก่อการร้าย" ที่ประกาศในปี 2014[13][14] ค่ายกักกันเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยรัฐบาลของเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน สี จิ้นผิง[14][15] และนำโดยเลขาธิการคณะกรรมการพรรค เฉิน หวงกั๋ว ค่ายกักกันเหล่านี้มีการรายวานว่าบริหารงานไปโดยอยู่นอกเหนือกฎหมายของจีน; ชาวอุยกูร์จำนวนมากถูกกักกันในค่ายโดยไม่มีหมายเรียกและไม่ได้มีการกระทำขัดต่อกฎหมายใด ๆ[16][17][18] เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นมีรายงานว่ามีการกักตัวชาวอุยกูร์หลายร้อยหลายพันคนในค่ายกักกันเหล่านี้ เช่นเดียวกับบุคคลที่เป็นชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์อื่น ๆ เพื่อเป้าหมายที่ระบุว่าเป็นการจัดการกับแนวคิดสุดขั้ว และ การก่อการร้าย และเพื่อเป็นการสนับสนุนการทำให้เป็นจีน (Sinicization)[19][20][21][22].[23][24]

หมู่ค่ายปรับทัศนคติซินเจียง
ค่ายกักกัน, ค่ายปลูกฝังค่านิยม, ค่ายสร้างการศึกษาใหม่
ผู้ถูกกักกันกำลังเข้าร่วมฟังสุนทรพจน์ในค่ายแห่งหนึ่งที่ Lop County, ซินเจียง เมื่อเมษายน 2017[1][2]
ชื่ออื่นศูนย์อาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ
ที่ตั้งซินเจียง ประเทศจีน
สร้างโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน
ดำเนินการโดยคณะกรรมการพรรคและรัฐบาลซินเจียง
เปิดใช้งานเปิดเมื่อ 2017[3]
จำนวนผู้ถูกกักกันมากถึง 1.5 ล้าน (การประมาณในปี 2019 โดย เซินซ์)[4]

1 ล้าน – 3 ล้าน ในเวลาหลายปี (การประมาณในปี 2019 โดย Schriver)[5][6]

มากกว่า ~497,000 คนในโรงเรียนประจำพิเศษของรัฐ (จากเอกสารทางการที่ประมาณการในปี 2017)[7]
Re-education camps
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวย่อ再教育
อักษรจีนตัวเต็ม再教育[8]
ชื่อภาษาอุยกูร์
ภาษาอุยกูร์
قايتا تەربىيەلەش لاگېرلىرى
Vocational Education and Training Centers
อักษรจีนตัวย่อ职业技能教育培训中心
อักษรจีนตัวเต็ม職業技能教育培訓中心

ข้อมูลเมื่อ 2018 มีการประมาณว่าเจ้าหน้าที่ทางการของจีนอาจมีการควบคุมตัวบุคคลกว่าหลายร้อย หลายพัน หรืออาจถึงหนึ่งล้านคนที่เป็นชาวอุยกูร์, คาซัก, คีร์กีซ และชาวเติร์กมุสลิมอื่น ๆ, คริสต์ชน รวมถึงพลเมืองต่างชาติอื่น ๆ เช่นชาวคาซักสถาน ถูกกักตัวอยู่ภายในค่ายกักกันลับ ๆ ที่ตั้งอยู่กระจายไปทั่วทั้งภูมิภาค[25][26][27][28][29][30]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Knocking the door of the mind with emotion, use reasons to ease the mood of the people". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 August 2018. สืบค้นเมื่อ 14 April 2017.
  2. "The Repression of Uyghurs Is Now an All-Out War Against a People". thediplomat.com. สืบค้นเมื่อ 24 August 2018.
  3. 3.0 3.1 "China: Free Xinjiang 'Political Education' Detainees". Human Rights Watch. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  4. Zenz, Adrian. "Brainwashing, Police Guards and Coercive Internment: Evidence from Chinese Government Documents about the Nature and Extent of Xinjiang's "Vocational Training Internment Camps"". Journal of Political Risk. 7 (7). สืบค้นเมื่อ 1 July 2019.
  5. Stewart, Phil (4 May 2019). "China putting minority Muslims in 'concentration camps,' U.S. says". Reuters. สืบค้นเมื่อ 17 September 2019.
  6. Rappeport, Alan; Wong, Edward (4 May 2018). "In Push for Trade Deal, Trump Administration Shelves Sanctions Over China's Crackdown on Uighurs". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 17 September 2019.
  7. Qin, Amy. "In China's Crackdown on Muslims, Children Have Not Been Spared". nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 30 December 2019.
  8. 董立文(Tung, Li-Wen) (October 2018). 「再教育營」再現中共新疆 工作的矛盾 [The Reprise of the Contradiction of CCP’s Work in Xinjiang Due to “Re-education Camps”] (PDF). 發展與探索 Prospect & Exploration (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน) (10 ed.). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-18. สืบค้นเมื่อ 18 December 2019.
  9. จากการแปลโดยบีบีซีไทย เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/thai/resources/idt-sh/China_hidden_camps_thai
  10. 新疆的反恐、去极端化斗争与人权保障. Xinhuanet.com. 18 March 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.
  11. shilei. "Archived copy" 新疆维吾尔自治区去极端化条例. Xjpcsc.gov.cn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2019. สืบค้นเมื่อ 20 July 2019.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  12. "Full Text: Vocational Education and Training in Xinjiang". Xinhua. Beijing. 16 August 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-16. สืบค้นเมื่อ 17 September 2019.
  13. "A Summer Vacation in China's Muslim Gulag". Foreign Policy. 28 February 2018. สืบค้นเมื่อ 28 February 2018.
  14. 14.0 14.1 Ramzy, Austin; Buckley, Chris (16 November 2019). "'Absolutely No Mercy': Leaked Files Expose How China Organized Mass Detentions of Muslims". The New York Times. ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 16 November 2019.
  15. Kate O’Keeffe and Katy Stech Ferek (14 November 2019). "Stop Calling China's Xi Jinping 'President,' U.S. Panel Says". The Wall Street Journal.
  16. "Arrests skyrocketed in China's Muslim far west in 2017". France24. AFP. 25 July 2018. สืบค้นเมื่อ 15 September 2019.
  17. "'Permanent cure': Inside the re-education camps China is using to brainwash Muslims". Business Insider. สืบค้นเมื่อ 17 May 2018.
  18. "China: Big Data Fuels Crackdown in Minority Region". Human Rights Watch. สืบค้นเมื่อ 26 February 2018.
  19. "China detains thousands of Muslims in re-education camps". ucanews.com. สืบค้นเมื่อ 13 September 2017.
  20. "High Numbers of Uyghurs Targeted for Re-Education Camps". Voice of America. สืบค้นเมื่อ 10 October 2017.
  21. Michael, Clarke (25 May 2018). "Xinjiang's "transformation through education" camps". The Interpreter. Lowy Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-03. สืบค้นเมื่อ 25 May 2018.
  22. "Why are Muslim Uyghurs being sent to 're-education' camps". Al Jazeera. 8 June 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-02. สืบค้นเมื่อ 11 June 2018.
  23. Stroup, David R. (19 November 2019). "Why Xi Jinping's Xinjiang policy is a major change in China's ethnic politics". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 24 November 2019.
  24. Thum, Rian; Harris, Rachel; Leibold, James; Batke, Jessica; Carrico, Kevin; Roberts, Sean R. (4 June 2018). "How Should the World Respond to Intensifying Repression in Xinjiang?". ChinaFile. Center on U.S.-China Relations at Asia Society. สืบค้นเมื่อ 4 June 2018.
  25. "Rights groups criticise sharp rise in arrests in China's Xinjiang province". The Irish Times. สืบค้นเมื่อ 26 July 2018.
  26. "China's reeducation camps for Muslims are beginning to look like concentration camps". Vox. 24 October 2018.
  27. "China steps up surveillance on Xinjiang Muslims". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 18 July 2018.
  28. "Thousands of Uyghur Muslims detained in Chinese 'political education' camps". CNN. สืบค้นเมื่อ 3 February 2018.
  29. "100 Christians sent to 're-education' camps in Xinjiang". Business Insider. สืบค้นเมื่อ 15 May 2018.
  30. Shih, Gerry; Kang, Dake (18 May 2018). "Muslims forced to drink alcohol and eat pork in China's're-education'camps, former inmate claims". The Independent. สืบค้นเมื่อ 18 May 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้