ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นรสิงห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
နေနီဝန်း (คุย | ส่วนร่วม)
Manussiha is not Narasingh
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{เกี่ยวกับ|อวตารของพระวิษณุ (เทพเจ้าในศาสนาฮินดู)|ผู้พิทักษ์วัดพุทธรูปปั้นผู้พิทักษ์ที่มีหัวมนุษย์และหลังสิงโตสองตัว|มนุสฺสีห}}
{{Infobox deity<!--Wikipedia:WikiProject Hindu mythology-->
[[ไฟล์:Relief_of_Narasimha_avatar_of_Vishnu_in_Chennakesava_temple_at_Belur.jpg|thumb|200px|[[ประติมากรรม]]นูนต่ำนรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุอสูร]]
| type = ฮินดู
| member_of = [[ทศาวตาร]]
| image = NarayanaTirumala15.JPG
| caption = รูปปั้นนรสิงห์ที่[[เวงกเฏศวรมนเทียร (ติรุปติ)|เวงกเฏศวรมนเทียร]]
| name = นรสิงห์
| Devanagari = नरसिंह
| Sanskrit_transliteration = Narasimha
| affiliation = เทพหัวสิงโต, [[กาล]]-[[มหากาล]], [[Manyu (deity)|Manyu]], [[อวตาร]]ที่สี่ของ[[พระวิษณุ]]<ref name="Williams2008p223"/>
| weapon = [[จักร]], [[Kaumodaki|คทา]], [[Nail (anatomy)|เล็บ]]
| god_of = เทพแห่งการป้องกัน, การทำลายล้าง, [[โยคะ]] และ[[กาล]] (เวลา); ผู้ทำลายความชั่วร้าย
| festivals = นรสิงห์ชยันตี, [[โฮลี]]
| consort = [[พระลักษมี]]
| abode = [[เกษียรสมุทร]]
}}
'''นรสิงห์''' หรือ '''นรสีห์''' ({{lang-sa|नरसिंह|lit=มนุษย์-สิงโต}}, {{IAST|Narasiṃha}})<!--Do not remove, WP:INDICSCRIPT doesn't apply to WikiProject Hinduism--> เป็น[[อวตาร]]ของ[[พระวิษณุ]] โดยมีร่างกายท่อนล่างเป็น[[มนุษย์]] และร่างกายท่อนบนเป็น[[สิงโต]] ลงมาทำลายความชั่วร้ายและยุติการกดขี่ข่มเหงทางศาสนาและความหายนะบนโลก ฟื้นฟู[[ธรรม]]<ref name="Williams2008p223">{{cite book|author=George M. Williams|title=Handbook of Hindu Mythology |url=https://books.google.com/books?id=N7LOZfwCDpEC&pg=PA223 |year=2008|publisher=Oxford University Press |isbn=978-0-19-533261-2|page=223}}</ref><ref>{{cite book|author=Gavin D. Flood|title=An Introduction to Hinduism|url= https://archive.org/details/introductiontohi0000floo|url-access=registration|year= 1996|publisher= Cambridge University Press|isbn= 978-0-521-43878-0|page = [https://archive.org/details/introductiontohi0000floo/page/111 111]}}</ref> นอกจากนี้ นรสิงห์ยังด้รับการกล่าวถึงเป็นเทพแห่งโยคะ ในรูปแบบโยคะ-นรสิงห์{{Sfn|Soifer|1991|p=102}}{{Sfn|Soifer|1991|p=92}}
 
นรสิงห์เป็นหนึ่งในเทพหลักใน[[ลัทธิไวษณพ]] และตำนานของเขาได้รับการยกย่องใน[[Vaikhanasas]], [[Sri Vaishnavism]], [[Sadh Vaishnavism]]<ref>{{cite book|author1= Farley P. Richmond|author2= Darius L. Swann|author3=Phillip B. Zarrilli|title=Indian Theatre: Traditions of Performance| url= https://books.google.com/books?id=OroCOEqkVg4C |year= 1993|publisher= Motilal Banarsidass|isbn=978-81-208-0981-9|pages=127 with footnote 1}}</ref> และในธรรมเนียมอื่น ๆ ของลัทธิไวษณพ
'''นรสิงห์''' หรือ '''นรสีห์''' ({{lang-sa|नरसिंह}}, {{lang-en|Narasimha}}) เป็น[[อวตาร]]ร่างที่ 4 ของ[[พระนารายณ์]]ตามเนื้อเรื่องใน[[คัมภีร์ปุราณะ]] [[อุปนิษัท]] และคัมภีร์อื่น ๆ ของ[[ศาสนาฮินดู]] โดยมีร่างกายท่อนล่างเป็น[[มนุษย์]] และร่างกายท่อนบนเป็น[[สิงโต]] นรสิงห์เป็นผู้สังหาร[[หิรัณยกศิปุ]] [[อสูร]]ตนซึ่งได้รับพรจาก[[พระพรหม]]ว่าจะไม่ถูกสังหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ นรสิงห์เป็นที่รู้จักและบูชาโดยทั่วไป
 
==เรื่องราว==
หิรัณยกศิปุบำเพ็ญตบะเป็นเวลานาน จนได้รับพรจากพระพรหม ให้เป็นผู้ที่ฆ่าไม่ตายจากมนุษย์, สัตว์, เทวดา ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเวลา[[กลางวัน]]และ[[กลางคืน]] ให้ฆ่าไม่ตายทั้งจาก[[อาวุธ]]และ[[มือ]] ให้ฆ่าไม่ตายทั้งใน[[อาคาร|เรือน]]และนอกเรือน
 
[[หิรัณยกศิปุ]] ได้อาละวาดสร้างความเดือดร้อนไปทั่วทั้งสามภพ [[พระอินทร์]]จึงทูลเชิญพระนารายณ์อวตารเกิดมาเป็น นรสิงห์ คือ มนุษย์ครึ่งสิงห์<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-23-search.asp {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120831122605/http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-23-search.asp |date=2012-08-31 }} นรสิงห์ ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> นรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุด้วยกรงเล็บด้วยการฉีกอก ที่กึ่งกลางบานประตู ในเวลา[[สนธยา|โพล้เพล้]] ก่อนตาย นรสิงห์ได้ถามหิรัณยกศิปุว่า สิ่งที่ฆ่าเจ้าเป็นมนุษย์หรือสัตว์หรือเทวดาหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ สิ่งที่สังหารเป็นมือหรืออาวุธหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ ในเรือนหรือนอกเรือนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ และเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ นรสิงห์จึงประกาศว่า บัดนี้ พรที่ประทานจากพระพรหมได้สลายไปสิ้นแล้ว เทวดาทั้งสามภพจึงยินดี
 
รูปประติมากรรมหรือ[[ภาพวาด|รูปวาด]]ของนรสิงห์ตอนสังหารหิรัณยกศิปุ จึงมักสลักมีรูปเทวดาองค์เล็ก ๆ 2 องค์อยู่ข้างล่างแสดงกิริยายินดีด้วย<ref>[[ตลับเทป|เทปสนทนา]] เรื่อง คุยเฟื่องเรื่องเขมร: [[วีระ ธีรภัทร]] - ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]]</ref>
เส้น 18 ⟶ 34:
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no29/norrasing.htm นรสิงห์อวตาร]
{{รายการอ้างอิง}}
{{Reflist|30em}}
 
==บรรณานุกรม==
*{{cite book|title=The Myths of Narasimha and Vamana: Two Avatars in Cosmological Perspective|url=https://books.google.com/books?id=OoFDK_sDGHwC|first=Deborah A.|last=Soifer|publisher=SUNY Press|year=1991|isbn = 9780791407998}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons category|Narasimha}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Narasimha|นรสิงห์}}
*[https://www.jstor.org/stable/29756820 Iconography and Symbolism of Pañcamukha Narasimha], R. Kalidos (1987)
*[https://www.thegaudiyatreasuresofbengal.com/2020/07/01/lord-narasimha-narasimha-who-is-lord-narasimha-prahlada-and-hiranyakashipu/ The story of Lord Narasimha]
 
{{อวตารของพระวิษณุ}}
{{Authority control}}
 
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าฮินดู]]