ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครีบยันลอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
 
บรรทัด 12:
บางครั้งเมื่อเพดานสูงมากๆ สถาปนิกก็อาจจะใช้ครีบยันลอยซ้อนกันสองชั้นหรือบางครั้งการจ่ายน้ำหนักก็จะกระจายออกไปกับครีบยันสามสี่อัน ตามปกติแล้วน้ำหนักของครีบยันก็จะเพิ่มน้ำให้กับตัวอาคารพอสมควร ฉะนั้นครีบยันจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างที่สำคัญ การใช้ครีบยันดิ่งเป็นระยะ ๆ ทำให้เพิ่มการรับน้ำหนักและแรงกดทับได้ดีขึ้นกว่าที่จะสร้างตลอดแนวกำแพง ครีบยันดิ่งที่ใช้ในการก่อสร้าง[[มหาวิหารลิงคอล์น]] [[แอบบีเวสต์มินสเตอร์]]อยู่ภายนอกหอประชุมสงฆ์ ครีบยันดิ่งมักจะใช้ยอดแหลม (pinnacle) เหนือครีบยันในการสร้างแรงต่อต้านการรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้น
 
วิธีการก่อสร้างนี้ถูกนำไปใช้โดยสถาปนิกชาวแคนาดาวิลเลียม พี แอนเดอร์สันในการสร้าง[[ประภาคาร]]เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref>Russ Rowlett, [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/types/buttressed.htm Canadian Flying Buttress Lighthouses] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080618070928/http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/types/buttressed.htm |date=2008-06-18 }}, in [http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/index.htm ''The Lighthouse Directory''] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20181009175648/http://www.unc.edu/~rowlett/lighthouse/index.htm |date=2018-10-09 }}.</ref>
 
== อ้างอิง ==