ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13:
 
โดยทั่วไปมีขนาด 10-12 นิ้ว สปีด 78 รอบ/นาที บันทึกและเล่นกลับได้หน้าละไม่เกิน 3-5 นาที เนื่องจากมีลักษณะค่อนข้างหนาและหนัก ตกแตกง่ายอย่างจานกระเบื้อง บางทีจึงเรียกว่า จานเสียง คุณภาพเสียงออกทางแหลมแตกพร่ารวมทั้งเสียงรบกวนจากหัวเข็มโลหะที่ต้องคอยเปลี่ยนบ่อย
 
แผ่นครั่งในเมืองไทย ได้แก่ ''ปาเต๊ะ ,อาร์ซีเอ วิคเตอร์ (ที่เรียกติดปากว่า ตราหมาหน้าเขียว,แดง,เหลือง ฯลฯ ) ,พาร์โลโฟน ,โคลัมเบีย ,เดคก้า ,บรันซวิค ,แคปิตอล ,ฟิลิปส์ ,เอ็มจีเอ็ม ,เทพดุริยางค์ ,โอเดียน (ช้างคู่ ) ,[[ศรีกรุง]] (พระปรางค์วัดอรุณ) ,กระต่าย ,อัศวิน ,[[สุนทราภรณ์]] ,[[มงกุฏ (แผ่นเสียง)|มงกุฏ]] ,เทพนคร ,นางกวัก ,วัวกระทิง ,ค้างคาว ,ลิง ,หมี ,นาคราช ,หงษ์ (คู่ ) ,บางกอก ,กามเทพ ,เพชรสุพรรณ ,[[กรมศิลปากร]]'' แผ่นที่ใช้เฉพาะในสถานี เช่น ''[[กรมโฆษณาการ]] (แผ่นดิบ) หรือจำหน่ายบางโอกาส เช่น เนรมิตภาพยนตร์ ฯลฯ''
 
การผลิตจำหน่าย มีทั้งทำแผ่นเองในประเทศ และอีกส่วนหนึ่งส่งมาสเตอร์ไปทำแผ่นที่เมืองนอก โดยเฉพาะที่เมือง[[ดัม ดัม]] ประเทศ[[อินเดีย]] ''(Dum Dum India)'' ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั้งใน[[ยุโรป]]และ[[อเมริกา]]ว่ามีมาตรฐานสูง คูณภาพเนื้อแผ่นดีที่สุด (และผู้ผลิตในเมืองไทยยังคงนิยมสั่งทำแผ่นจากที่นี่จนถึงยุคแผ่นลองเพลย์กับซิงเกิลในช่วงแรก) แต่จานเสียงครั่งที่สั่งทำจากต่างประเทศดังกล่าว บางชุดมาไม่ถึงเมืองไทยเนื่องจากประสบอุบัติเหตุในการขนส่งขณะเดินทางจมน้ำเสียหายหมด