ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวรบยูเครนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 25:
ระหว่าง ค.ศ. 1944 แนวรบนี้เข้าร่วมกับแนวรบอื่นในยุทธการ[[การรุกคอร์ซุน-เชฟเชนคอฟสกี|คอร์ซุน-เชฟเชนคีฟสกี]] และยุทธการ[[ฮูเบสพ็อกเกต]]ในยูเครน ซึ่งดำเนินการ[[การรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ]] โดยแนวรบนี้ได้ทำการควบคุม[[กองทัพรถถังอารักขาโซเวียตที่ 1]], [[กองทัพรถถังอารักขาที่ 3]], [[กองทัพรถถังที่ 4 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพรถถังที่ 4]], [[กองทัพอารักขาที่ 3 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพอารักขาที่ 3]], [[กองทัพอารักขาที่ 5 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพอารักขาที่ 5]], [[กองทัพที่ 13 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพที่ 13]], [[กองทัพที่ 38 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพที่ 38]] และ[[กองทัพที่ 60 (สหภาพโซเวียต)|กองทัพที่ 60]] จากนั้นจึงมีส่วนร่วมในยุทธการสำหรับเทอร์โนพิล
 
ใน ค.ศ. 1945 แนวรบนี้ได้มีส่วนร่วมใน[[การรุกวิสตูลา–โอเดอร์]] และดำเนินการใน[[การรุกไซลีเซีย|ไซลีเซีย]] รวมถึงปฎิบัติการปฏิบัติการ[[การรุกปราก|ปราก]] ตลอดจนการล้อม[[เบร็สเลา]] นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมในปฎิบัติการปฏิบัติการ[[ยุทธการที่เบอร์ลิน|เบอร์ลิน]]ในประเทศเยอรมนีและโปแลนด์ แนวรบนี้ยังดำเนินการในส่วนสำคัญของ[[ยุทธการที่ฮัลเบอ|การล้อมรอบฮัลเบอ]] ซึ่งกองทัพเยอรมันที่ 9 ส่วนใหญ่ถูกทำลายทางใต้ของกรุงเบอร์ลิน มาถึงตอนนี้[[กองทัพโปแลนด์ที่สอง]]ได้ปฏิบัติการในฐานะส่วนหนึ่งของแนวรบ ในที่สุดแนวรบยูเครนที่ 1 ได้จัดเตรียมการป้องกันการโจมตีจากอาร์เมเวนค์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาเบอร์ลินและ[[กองทัพที่ 9 (แวร์มัคท์)|กองทัพที่ 9]] ทั้งนี้ [[การรุกปราก]]เป็นยุทธการสุดท้ายของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ใน[[ทวีปยุโรป]]
 
หลังจากสงคราม กองบัญชาการส่วนหน้าได้จัดตั้ง[[กองกลางกองกำลัง]]ของกองทัพแดงใน[[ออสเตรีย]]และ[[ฮังการี]]จนถึง ค.ศ. 1955 และได้รับการฟื้นฟูใน ค.ศ. 1968 ใน[[ประเทศเชโกสโลวาเกีย]]ในฐานะมรดกของเหตุการณ์[[ปรากสปริง]]