ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 59:
|}
 
'''สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ''' ({{lang-en|Port F.C.}}) เป็นสโมสร[[ฟุตบอล]]ใน[[ประเทศไทย]] โดยได้เข้ามาร่วมเล่นใน [[ไทยลีก]] ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งในอดีตสโมสรนี้มีชื่อว่า '''การท่าเรือแห่งประเทศไทย''', '''การท่าเรือไทย''' และ '''สิงห์ท่าเรือ'''
 
== ประวัติสโมสร ==
=== ยุคก่อนระบบฟุตบอลลีก ===
สโมสร ก่อตั้งเมื่อปี 2510 ในชื่อ '''สโมสรการท่าเรือแห่งประเทศไทย''' โดยเริ่มต้นจากพนักงานการท่าเรือฯ 3 ท่าน คือ อำพล สิงห์สุมาลี, สง่า บังเกิดลาภ และ พี่เดียร์ (นามสมมุติ) โดยในช่วงแรก ส่งทีมร่วมแข่งขันในฟุตบอลระดับเยาวชน และ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.|ถ้วยน้อย]] ก่อนที่ในเวลาต่อมา [[ประจวบ สุนทรางกูร|พลตรี ประจวบ สุนทรางกูร]] ผู้อำนวยการ[[การท่าเรือแห่งประเทศไทย]] ''(ในขณะนั้น)'' ได้ให้ความสำคัญ และเข้าร่วมดูแลสโมสร โดยมีโค้ชในยุคแรก คือ ทวิช นรเดชานนท์ และ ไพสิต คชเสนี<ref>ประวัติทีมฟุตบอลการท่าเรือฯ โดยสังเขป - สโมสรการท่าเรือไทย เอฟซีhttps://web.archive.org/web/20110716215859/http://www.thaiportfc.com/the-club/profile-club.html</ref>
 
โดยเริ่มต้นส่งเข้าร่วมการแข่งขัน [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ง.|ถ้วยพระราชทาน ง.]] โดยชนะเลิศการแข่งขัน 3 สมัยติดต่อกันในปี 2510 - 2512 ทำให้ในปี 2513 จึงได้รับเชิญ เข้าร่วมการแข่งขัน [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.|ถ้วยพระราชทาน ก.]] และได้ตำแหน่งชนะเลิศ ตั้งแต่ครั้งแรกที่เข้าร่วมการแข่งขัน<ref name=":0">https://www.facebook.com/564147727055833/photos/a.994669950670273.1073741832.564147727055833/986815274789074/?type=3&theater พลิกแฟ้ม การท่าเรือ - ชมรมประวัติศาสตร์ฟุตบอลสิงห์ท่าเรือ</ref>
 
ต่อมาในช่วงปี 2519 ถึง 2522 นับว่าเป็นช่วงที่ดีที่สุดของสโมสร โดยสามารถคว้าตำแหน่งชนะเลิศ ถ้วยพระราชทาน ก. ได้ 3 สมัย และ ชนะเลิศ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ควีนสคัพ|ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ]] ได้ในปี 2521-2523 (โดยในปี 2520 และ 2522 ได้ตำแหน่งชนะเลิศร่วมกัน)<ref name=":0" /> ขณะเดียวกัน ในการแข่งขันฟุตบอลกีฬาท่าเรือระหว่างประเทศ สโมสร ก็ยังสามารถทำผลงานได้ตำแหน่งชนะเลิศ การแข่งขันฟุตบอลกีฬาท่าเรืออาเซียน 4 สมัย อีกด้วย
 
ต่อมาในปี 2534 [[สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ]] ได้มีนโยบายในการที่จะจัดการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ โดยให้สโมสรที่ลงทำการแข่งขันในระดับ [[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.|ถ้วยพระราชทาน ก.]] เป็นทีมยืนในการแข่งขัน โดย สโมสร ต้องยกเลิกการส่งสโมสรเข้าร่วมแข่งขันใน [[ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน]] ทุกประเภท เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลลีกอาชีพในขณะนั้น (การแข่งขัน [[ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2534|ไทยแลนด์เซมิโปรลีก]])
บรรทัด 74:
ต่อมาในปี 2539 ได้มีการจัดการแข่งขัน [[จอห์นนีวอล์กเกอร์ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ฤดูกาล 2539/40|ไทยลีก ฤดูกาล 2539/40]] ขึ้น โดยเป็นหนึ่งใน 18 สโมสรแรกที่ร่วมทำการแข่งขัน และทำผลงานโดยจบอันดับที่ 11 จาก 18 สโมสร
 
ต่อมาในปี 2552 หลังจากที่ได้มีการปรับโครงสร้างของลีกให้เป็นมืออาชีพ สโมสร ก็ต้องทำการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลด้วย โดยได้มีการจดทะเบียนในนาม '''บจก.สโมสรฟุตบอลการท่าเรือไทย''' โดยมี พิเชษฐ์ มั่นคง เป็นประธานสโมสร<ref>http://www.wisewinner.com/index.aspx?ContentID=ContentID-090219112217612{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} งานแถลงข่าว บริษัท สโมสรฟุตบอลการท่าเรือไทย จำกัด อย่างเป็นทางการ - บจก.ไวซ์ วินเนอร์</ref> และในปีนั้น สโมสรสามารถชนะเลิศการแข่งขัน [[มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552|ไทยแลนด์ เอฟเอคัพ]] ได้โดยเอาชนะจุดโทษ [[บีอีซี เทโรศาสน|สโมสรบีอีซี เทโรศาสน]] 5-4 ซึ่งเป็นการได้ตำแหน่งชนะเลิศครั้งแรกในรอบ 16 ปี โดยความสำเร็จครั้งสุดท้ายคือ ชนะเลิศ [[ควีนส์คัพ|ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทาน ควีนสคัพ]] เมื่อปี 2536
 
ต่อมาในปี 2555 ได้มีการเปลื่ยนแปลงผู้บริหาร ทำให้มีการเปลื่ยนชื่อสโมสรเป็น '''สโมสรฟุตบอลสิงห์ท่าเรือ''' พร้อมกับเปลี่ยนทีมผู้ฝึกสอนและผู้บริหารทั้งหมด และได้ [[คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง|พล.ต.ท.คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง]] เป็นประธานกิตติมศักดิ์ (ในฐานะประธานคณะกรรมการการท่าเรือแห่งประเทศไทย) และ [[ทรง วงศ์วานิช]] เป็นประธานสโมสร<ref>https://www.thairath.co.th/content/329539 'สิงห์ท่าเรือ' ทุ่ม 70 ล้าน หวังขึ้นไทยลีกปีหน้า - ไทยรัฐ</ref> โดยในปีนั้น สโมสร ซึ่งทำการแข่งขัน [[ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2556|ดิวิชั่น 1 2556]] ทำผลงานได้อย่างน่าประทับใจ โดยจบด้วยตำแหน่งรองชนะเลิศ ได้สิทธิ์เลื่อนชั้นไปแข่งขันไทยลีกอีกครั้ง
บรรทัด 89:
ไฟล์:SinghaTarua-logo.png|2556 – 2557
ไฟล์:PortFC2015.png|2558
ไฟล์:PortFC2016.png|2559 – ปัจจุบัน
</gallery>
</center>
บรรทัด 831:
|ผู้จัดการทีม||{{flagicon|THA}} องอาจ ก่อสินค้า
|-
|หัวหน้าผู้ฝึกสอน||{{flagicon|THA}} [[สระราวุฒิวีรยุทธ์ ตรีพันธ์บินอับดุลเลาะมาน]] (รักษาการชั่วคราว)
|-
|ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน||{{flagicon|THA}} [[ณรงค์ชัย วชิรบาล]]
บรรทัด 845:
|}
 
=== ทำเนียบผู้จัดการทีมหัวหน้าผู้ฝึกสอน ===
''รายชื่อผู้จัดการทีมหรือหัวหน้าผู้ฝึกสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2539 ถึงปัจจุบัน''
 
{{Div col|colwidth=22em}}
บรรทัด 872:
* {{flagicon|THA}} [[ดุสิต เฉลิมแสน]] {{small|2564}}
* {{flagicon|THA}} [[สระราวุฒิ ตรีพันธ์]]<sup>รักษาการ</sup> {{small|2564–2565}}
* {{flagicon|THA}} [[วีรยุทธ์ บินอับดุลเลาะมาน]]<sup>รักษาการ</sup> {{small|2565–}}
* {{flagicon|THA}} [[จเด็จ มีลาภ]] {{small|([[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022]])}}
{{div col end}}