ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วายฟาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9869650 สร้างโดย 2001:44C8:4506:991:1:0:296E:486C (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
{{รีไรต์}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการสรุป}}
 
'''ไวไฟ'''<ref>พจจนานุกรมคำใหม่เล่มhttps://dict.longdo.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9F ไวไฟ ฉบับราชบัณฑิตส่วน อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> ({{lang-en|Wi-Fi หรือ WiFi}}, {{IPAc-en|ˈ|w|aɪ|f|aɪ}})<ref>{{Cite web |url=https://www.batheatlantic.cmu.ac.thcom/wp-contenttechnology/uploadsarchive/pdf2014/_grad06/2why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/17.pdf |title='Why-Fi' or 'Wiffy'? How Americans Pronounce Common Tech Terms |last=Garber |first=Megan |date=2014-06-23 |website=[http[The Atlantic]] |archive-url=https://wwwweb.thaiglossaryarchive.org/groupsweb/ipst-vocab20180615190651/browsehttps:/published/searchwww.theatlantic.com/witechnology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ คลังศัพท์ไทย สวทช]{{ลิงก์เสีย|archive-date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot2018-06-15 |fixurl-attemptedstatus=yeslive }}</ref>{{Efn|ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปคำว่า (Wi-Fi ย่อมาจาก “wireless fidelity” แต่คำนี้ไม่ได้มีความหมายเต็ม และ 'ถูกสร้างขึ้น' เพื่อให้พูดและจำง่ายกว่า IEEE802.11.<ref>{{langcite web|url=https://www.newscientist.com/question/what-endoes-wi-fi-stand-for/|title= What does Wi-Fi หรือstand WiFifor?}}</ref>}}) เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมที่ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายโดยใช้คลื่นวิทยุ คำ ๆ นี้เป็นเครื่องหมายการค้าของ Wi-Fi Alliance ที่ได้ให้คำนิยามของวายฟายไวไฟว่าหมายถึง "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.11" อย่างไรก็ตามเนื่องจากแลนไร้สายที่ทันสมัยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานเหล่านี้ คำว่า "ไวไฟ" จึงนำมาใช้ในภาษาอังกฤษทั่วไปโดยเป็นคำพ้องสำหรับ "แลนไร้สาย"
เดิมทีวายฟายไวไฟออกแบบมาใช้สำหรับอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ และใช้เครือข่าย [[LAN]] เท่านั้น แต่ปัจจุบันนิยมใช้วายฟายไวไฟเพื่อต่อกับ[[อินเทอร์เน็ต]] โดยอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เครื่องเล่นเกมส์ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต กล้องดิจิทัลและเครื่องเสียงดิจิทัล สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่าแอคเซสพอยต์รือ ฮอตสปอต และบริเวณที่ระยะทำการของแอคเซสพอยต์ครอบคลุมอยู่ที่ประมาณ 20 ม.ในอาคาร แต่ระยะนี้จะไกลกว่าถ้าเป็นที่โล่งแจ้ง
[[ไฟล์:Wi-Fi.gif|thumb|ภาพของอุปกรณ์ส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์อื่นทั้งที่เชื่อมต่อกับแลนไร้สายและเครือข่ายท้องถิ่นใช้สายในการพิมพ์เอกสาร]]
 
Wi-Fi มีความปลอดภัยน้อยกว่าการเชื่อมต่อแบบมีสาย (เช่น Ethernet) เพราะผู้บุกรุกไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อทางกายภาพ หน้าเว็บที่ใช้ SSL<ref>Secure Sockets Layer, เป็นโพรโทคอลสำหรับการเข้าระหัสบนอินเทอร์เนท</ref> มีความปลอดภัย แต่การใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่ได้เข้ารหัสสามารถจะตรวจพบโดยผู้บุกรุก ด้วยเหตุนี้ Wi-Fi ได้พัฒนาเทคโนโลยีการเข้ารหัสต่าง ๆ มากมาย WEP เป็นการเข้ารหัสรุ่นแรก ๆ พิสูจน์แลัวว่าง่ายต่อการบุกรุก โพรโทคอลที่มีคุณภาพสูงกว่าได้แก่ WPA, WPA2 มีเพิ่มขึ้นมาในภายหลัง คุณลักษณะตัวเลือกที่เพิ่มเข้ามาในปี 2007 ที่เรียกว่า Wi-Fi Protected Setup (WPS) มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ยอมให้ผู้โจมตีสามารถกู้คืนรหัสผ่านของเราเตอร์ได้<ref>"Brute forcing Wi-Fi Protected Setup" (PDF). Retrieved 2013-06-15.</ref> Wi-Fi Alliance ได้ทำการปรับปรุงแผนการทดสอบและโปรแกรมการรับรองตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเพื่อให้แน่ใจว่า อุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองใหม่ทั้งหมดสามารถต่อต้านการโจมตีได้
 
== ประวัติ ==
'''วายฟายไวไฟ''' หรือ เทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1997 จัดตั้งโดยองค์การไอทริปเปิ้ลอี (สถาบันวิศวกรรมทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิคส์) มีความเร็ว 1 Mbps ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งไม่มีการรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า QoS (Quality of Service) และมาตรฐานความปลอดภัยต่ำ จากนั้นทาง IEEE จึงจัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาปรับปรุงหลายกลุ่มด้วยกัน โดยที่กลุ่มที่มีผลงานเป็นที่น่าพอใจและได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการว่า ได้มาตรฐานได้แก่กลุ่ม 802.11a, 802.11b และ 802.11g
สำหรับรายละเอียดของมาตรฐาน IEEE 802.11 ดู [[IEEE 802.11]]
 
'''วายฟาย''' หรือ เทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1997 จัดตั้งโดยองค์การไอทริปเปิ้ลอี (สถาบันวิศวกรรมทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิคส์) มีความเร็ว 1 Mbps ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งไม่มีการรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า QoS (Quality of Service) และมาตรฐานความปลอดภัยต่ำ จากนั้นทาง IEEE จึงจัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาปรับปรุงหลายกลุ่มด้วยกัน โดยที่กลุ่มที่มีผลงานเป็นที่น่าพอใจและได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการว่า ได้มาตรฐานได้แก่กลุ่ม 802.11a, 802.11b และ 802.11g
 
เทคโนโลยี 802.11 มีต้นกำเนิดในปี ค.ศ. 1985 กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (U.S. Federal Communications Commission) หรือ FCC ที่ประกาศช่วงความถี่สำหรับกิจการด้านอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์ (ISM) สำหรับการใช้งานที่ไม่ต้องมีใบอนุญาต
เส้น 29 ⟶ 25:
 
== ลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ ==
[[ไฟล์:Wi-Fi.gif|thumb|ภาพของอุปกรณ์ส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์อื่นทั้งที่เชื่อมต่อกับแลนไร้สายและเครือข่ายท้องถิ่นใช้สายในการพิมพ์เอกสาร]]
วายฟายไวไฟ ได้กำหนดลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ภายในเครือข่ายแลน ไว้ 2 ลักษณะคือโหมด [[Infrastructure as a service|Infrastructure]] และโหมด [[Ad-Hoc]] หรือ Peer-to-Peer<ref>[http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/wireless/IEEE80211_1.php มาตรฐาน IEEE 802.11 WLAN] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081015063417/http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/wireless/IEEE80211_1.php |date=2008-10-15 }} (เว็บไซต์ศูนย์ประสานงานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย)</ref>
 
=== โหมด Infrastructure ===
โดยทั่วไปแล้วอุปกรณ์ในเครือข่ายวายฟายไวไฟ จะเชื่อมต่อกันในลักษณะของโหมด Infrastructure ซึ่งเป็นโหมดที่อนุญาตให้อุปกรณ์ภายใน [[LAN]] สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ ในโหมด Infrastructure นี้จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ 2 ประเภทได้แก่ สถานีผู้ใช้ (Client Station) ซึ่งก็คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Desktop, แล็ปท็อป, หรือ PDA ต่าง ๆ ) ที่มีอุปกรณ์ Client Adapter เพื่อใช้รับส่งข้อมูลผ่านวายฟายไวไฟให้บริการ แก่สถานีผู้ใช้นั้นอยู่เท่านั้น ส่วนสถานีแม่ข่ายจะทำหน้าที่ส่งต่อ (forward) ข้อมูลที่ได้รับจากสถานีผู้ใช้ไปยังจุดหมายปลายทางหรือส่งต่อข้อมูลที่ได้ รับจากเครือข่ายอื่นมายังสถานีผู้ใช้
 
=== โหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer ===
เครือข่ายวายฟายไวไฟ.ในโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer เป็นเครือข่ายที่ปิดคือไม่มีสถานีแม่ข่ายและไม่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น บริเวณของเครือข่ายวายฟายไวไฟในโหมด Ad-Hoc จะเรียกว่า Independent Basic Service Set (IBSS) ซึ่งสถานีผู้ใช้หนึ่งสามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกับสถานีผู้ใช้อื่น ๆ ในเขต IBSS เดียวกันได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านสถานีแม่ข่าย แต่สถานีผู้ใช้จะไม่สามารถรับส่งข้อมูลกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้
 
==กลไกรักษาความปลอดภัย ==
วายฟายไวไฟได้กำหนดให้มีทางเลือกสำหรับสร้างความปลอดภัยให้กับเครือข่ายแลนแบบไร้สาย ด้วยกลไกซึ่งมีชื่อเรียกว่า WEP (Wired Equivalent Privacy) ซึ่งออกแบบมาเพื่อเพิ่มความปลอดภัยกับเครือข่าย LAN แบบไร้สายให้ใกล้เคียงกับความปลอดภัยของเครือข่ายแบบที่ใช้สายนำสัญญาณ (IEEE 802.3 Ethernet) บทบาทของ WEP แบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) และ การตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication)
 
=== การเข้าและถอดรหัสข้อมูล ===
เส้น 56 ⟶ 53:
 
=== การตรวจสอบผู้ใช้ ===
สำหรับเครือข่ายวายฟายไวไฟ ผู้ใช้ (เครื่องลูกข่าย) จะมีสิทธิในการรับส่งสัญญาณข้อมูลในเครือข่ายได้ก็ต่อเมื่อได้รับการตรวจสอบ แล้วได้รับอนุญาต ซึ่งมาตรฐานวายฟายไวไฟ
* '''Open System Authentication'''
การตรวจสอบผู้ใช้ในลักษณะ นี้เป็นทางเลือกแบบ default ที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน IEEE 802.11 ในการตรวจสอบแบบนี้จะไม่ตรวจสอบรหัสลับจากผู้ใช้ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการอนุญาตให้ผู้ใช้ใด ๆ ก็ได้สามารถเข้ามารับส่งสัญญาณในเครือข่ายนั่นเอง แต่อย่างไรก็ตามในการตรวจสอบแบบนี้อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นสถานีแม่ข่ายไม่จำเป็นต้องอนุญาตให้สถานีผู้ใช้เข้ามาใช้เครือข่ายได้เสมอไป ในกรณีนี้บทบาทของ WEP จึงเหลือแต่เพียงการเข้ารหัสข้อมูลเท่านั้น กลไกการตรวจสอบแบบ open system authentication มีขั้นตอนการทำงานดังต่อไปนี้
เส้น 75 ⟶ 72:
หลาย ๆ แบรนด์ในการแข่งขันที่แตกต่างกันของ AP กับตัวเชื่อมต่อเครื่องลูกข่ายสามารถประสานทำงานกันได้ดีในระดับพื้นฐานของการให้บริการ ผลิตภัณฑ์ทั้งหลายที่ "รองรับ Wi-Fi" ที่ออกโดย Wi-Fi Alliance สามารถเข้ากันได้แบบย้อนหลัง ซึ่งแตกต่างจากโทรศัพท์มือถือ ที่อุปกรณ์ที่มีมาตรฐาน Wi-Fi ใด ๆ สามารถที่จะทำงานร่วมกันได้ที่ใด ๆ ก็ได้ในโลกนี้
 
การเข้ารหัสของวายฟายไวไฟแบบ Wi-Fi Protected Access (WPA2) ถือได้ว่ามีความปลอดภัยโดยการใช้รหัสผ่านที่แข็งแกร่ง โพรโทคอลใหม่สำหรับคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า Wireless Multimedia (WMM) ทำให้ Wi-Fi มีความเหมาะสมมากขึ้นสำหรับการใช้งานที่มี ความละเอียดอ่อนต่อเวลาแฝง(เช่นเสียงและวิดีโอ) กลไกการประหยัดพลังงานของ WMM จะช่วยยืดอายุแบตเตอรี่
 
===ข้อจำกัด===
เส้น 104 ⟶ 101:
 
นอกจากนี้ อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้แถบความถี่ 2.4 GHz เช่นเตาอบไมโครเวฟ อุปกรณ์ ISM กล้องรักษาความปลอดภัย อุปกรณ์ ZigBee อุปกรณ์ บลูทูธ , ผู้ส่ง วิดีโอ โทรศัพท์ไร้สาย เครื่องมอนิเตอร์ทารก และ (ในบางประเทศ) วิทยุสมัครเล่น ทั้งหมดที่สามารถก่อให้เกิดการรบกวนเพิ่มเติมอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยังเป็นปัญหาเมื่อหลาย ๆ เทศบาลหรือหลาย ๆ องค์กรขนาดใหญ่อื่น ๆ (เช่น มหาวิทยาลัย) พยายามที่จะให้ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่และเกิดการทับซ้อนกัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 113 ⟶ 107:
* แลนไร้สาย
* บลูทูธ
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
== อ่านเพิ่ม ==
* {{cite book |author=The WNDW Authors |title=Wireless Networking in the Developing World |editor-last=Butler |editor-first=Jane |date=1 March 2013 |isbn=978-1-4840-3935-9|title-link=:File:Wireless Networking in the Developing World (WNDW) Third Edition.pdf |edition=Third}}
 
[[หมวดหมู่:ไวไฟ| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วายฟาย"