ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supawat.tiger. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 97:
ภายในงานนิทรรศการ “๑๐๐ ปี คีตกรหญิงแห่งกรุงสยาม”
มีการจัดแสดงประวัติ ผลงาน ของสะสมและเครื่องดนตรี โดยได้รับความอนุเคราะห์สนับสนุนจากทายาทท่านผู้หญิงพวงร้อย และหอสมุดแห่งชาติในการเอื้อเฟื้อข้อมูล ถือเป็นจุดกำเนิดเพลงอมตะของท่านผู้หญิงพวงร้อยหลายบทเพลง
ผลงานของท่านในระยะแรกนั้น เป็นผลงานที่ประพันธ์ในการประกอบภาพยนตร์ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล และประกอบการแสดงต่างๆต่าง ๆ อาทิ เพลง บัวขาว, เงาไม้, จันทร์เอ๋ย, ลมหวน
ต่อมา ท่านผู้หญิงจึงเริ่มประพันธ์บทเพลงปลุกใจ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เกิดความรักชาติตามพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมถึงบทเพลงเทิดพระเกียรติ บทเพลงประจำสถาบัน และบทเพลงในวาระพิเศษต่างๆต่าง ๆ
ส่วนการแสดงดนตรีนั้น แบ่งเป็นช่วงต่างๆต่าง ๆ คือ การ “ร้อง เต้น เล่นละคร” เป็นการขับร้องเพลงโดยศิลปินแนวหน้าระดับประเทศ จินตลีลาประกอบเพลงวอลทซ์ และการแสดงละคร โดยนำเพลงของ ท่านผู้หญิงพวงร้อย มาร้อยเป็นเรื่องราว บรรเลงโดยวงดุริยางค์ซิมโฟนีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ อำนวยเพลงและเรียบเรียงขึ้นใหม่โดย ทฤษฎี ณ พัทลุง และมี มัทนพันธุ์ ดุละลัมพะ ลูกสาวท่านผู้หญิงพวงร้อย ในฐานะนักเปียโนรับเชิญกิตติมศักดิ์ และยังมีศิลปินมาร่วมร้องได้แก่ [[ธนชัย อุชชิน]], [[ธีรนัยน์ ณ หนองคาย]],
[[กิตตินันท์ ชินสำราญ]], [[กรวิช เทพหัสดิน ณ อยุธยา]], [[พิจิกา จิตตะปุตตะ]], [[ดวงพร พงศ์ผาสุก]], [[สาธิดา พรหมพิริยะ]], [[กรกันต์ สุทธิโกเศศ]]