ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แกงฮังเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| other =
}}
'''แกงฮังเล''' หรือ '''แกงฮินเล''' เป็น[[อาหารไทย]]ภาคเหนือประเภท[[แกง]]รสชาติเค็ม-เปรี้ยว แกงฮังเลมีต้นกำเนิดเป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศพม่าในสมัยอดีต โดยคำแกงที่ชาวพม่าเรียกว่า ''ฮี่น''“ฮินแล” ({{lang|my|ဟင်း}})หรือ ใน[[ภาษาพม่า]]แปล“ฮังแล” เป็นแกงอย่างเดียวกับที่ชาวล้านนาเรียกว่า แกงโฮะ” และแกงอย่างที่ชาวล้านนาเรียก ''เล่''“ฮินแล” หรือ ({{lang|my|လေး}})“ฮังแล” ในภาษาชาวพม่าเรียก “แวะตาฮีน” แปลว่า เนื้อสัตว์แกงหมู แกงฮังเลได้รับความนิยมจากชาวไทยภาคเหนือและแคว้น[[สิบสองปันนา]] ประเทศจีน
 
วิธีปรุงแกงฮังเลมีสองแบบคือแบบพม่าและแบบเชียงแสน โดยแบบพม่าได้รับความนิยมมากกว่า แกงฮังเลพม่ารสชาติออกเปรี้ยวเค็ม น้ำขลุกขลิก ใส่ขิง น้ำมะขามเปียก กระเทียมดอง ถั่วลิสง น้ำตาลอ้อย ส่วนแกงฮังเลเชียงแสนเพิ่มถั่วฝักยาว พริก หน่อไม้ดอง งาคั่ว ส่วนประกอบสำคัญจะต้องมีผงแกงฮังเลหรือผงมัสล่าซึ่งเป็นผงเครื่องเทศแบบผสมแบบเดียวกับการัม มาซาลาของอินเดีย น้ำพริกแกงประกอบด้วยพริกแห้ง เกลือ ข่าแก่ ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง<ref>ญดา ศรีเงินยวงและชนิรัตน์ สำเร็จ. แกงไทย. กทม. แสงแดด. 2556 หน้า 56</ref> แกงฮังเลแบบไทใหญ่ น้ำขลุกขลิกและกินกับมะม่วงสะนาบซึ่งเป็นมะม่วงสับ ยำกับกะปิคั่ว กุ้งแห้งป่น และกระเทียมเจียว<ref>สิริรักษ์ บางสุด และ พลวัฒน์ อารมณ์. โอชะล้านนา. กรุงเทพฯ: แสงแดด. 2558 หน้า 187 และ 192</ref>