ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซากยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|สักกะ}}
[[ไฟล์:Sakya tibet2.jpg|thumb|วิหารของนิกายสักยะซากยาในทิเบต]]
'''นิกายซากยา''' ({{bo|t=ས་སྐྱ་པ་ |w=sa skya |z=sa gya}}) หรือ '''สิกายสักยะ''' เป็นนิกายสำคัญนิกายหนึ่งของ[[พุทธศาสนาในทิเบต]] รากฐานของคำสอนมาจากวิรูปะ โยคีชาวอินเดียผ่านทาง คายธร ดรอกมี สักยะซากยาเยเช ลูกศิษย์ของสักยะซากยาเยเชคือ คอน คอลจ็อก เจลโป ได้สร้างวัดชื่อวัดสักยะซากยา จึงกลายมาเป็นชื่อนิกาย
 
== อาจารย์ที่สำคัญ ==
ผู้นำที่เป็นหลักของนิกายสักยะซากยาเรียกว่า ปัญจะสังฆราช ได้แก่ ลาเซ็น กุงกะนิงโป, โสนัมเซโม, ดักปะ เจลเซ่น, สักยะซากยาบัณฑิตกุงกะ เจลเซ่น, และโดรกอน โชกยัล [[โจเกินเชอกยาพักปะปา]] นอกจากนี้ยังมีอาจารย์ที่ร่วมพัฒนานิกายสักยะซากยา เรียกอลังการทั้ง 6 เช่น งอเซ็น กุงกะ ซังโป, ซองปะกุง กะนัมกยัล, โครัมเสนัม เซ็งเก, สักยะซากยา โชเด็น เป็นต้น
 
== คำสอน ==
นิกายสักยะซากยามีการแบ่งเป็นนิกายย่อยหลายนิกายเช่นเดียวกับนิกายอื่น ๆ คำสอนที่ถือเป็นแก่นของนิกายคือ ลัมเดร มรรควิถีและผล ปรัชญาทางมรรควิถีของนิกายนี้ถือว่าไม่สามารถแยก[[สังสารวัฏ]]และพระ[[นิพพาน]]ออกจากกันได้ เพราะ[[จิต]]มีรากฐานอยู่ทั้ง 2 อย่าง ดังนั้น ผู้ฝึกฝนจำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจถ่องแท้ทั้ง 2 สภาวะ การปฏิบัติที่เป็นหลักของนิกายนี้คือ เหวัชระ จักรสัมภวะ ตันตระและมารกกาล
 
== บทบาททางการเมือง ==
นิกายสักยะซากยาเคยมีบทบาทปกครอง[[ทิเบต]]อยู่ราว 100 ปี เนื่องจากสักยะซากยาบัณฑิตได้ไปเผยแพร่พุทธศาสนาที่[[มองโกเลีย]]จนเป็นที่เลื่อมใสของโกดันข่าน ต่อมา พักปะปา หลานชายของสักยะซากยาบัณฑิตประดิษฐ์[[อักษรพัก-ปา]]เพื่อใช้เขียน[[ภาษามองโกเลีย]] กุบไลข่านพอใจผลงานของพักปะปาจึงแต่งตั้งให้พักปะปามีอำนาจปกครองทิเบต 3 แคว้น ถือว่าพักปะปาเป็นคนแรกใน[[ประวัติศาสตร์ทิเบต]]ที่มีอำนาจทั้งทางศาสนาและการเมือง
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ซากยา"