ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม''' (Environmental Impact Assessment - EIA) หมายถึงการประเมินผลกระทบจาก[[โครงการพัฒนา]]ที่จะมีต่อ[[สุขภาพ]]หรือความสมบูรณ์ของ[[สิ่งแวดล้อม]]ทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของ[[ระบบนิเวศ]]และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อ[[ธรรมชาติ]] การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ดำเนินได้".”<ref>{{cite web
| last =
| first =
บรรทัด 44:
การสอบสวนร่วมระหว่าง SEPA และกระทรวงที่ดินและทรัพยากรเมื่อ พ.ศ. 2547 แสดงให้เห็นว่า ร้อยละ 30 ถึง 40 ของโครงการทำเหมืองเท่านั้นที่ผ่านกระบวนการขั้นตอนที่กำหนดของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในขณะที่โครงการในพื้นที่อื่น ๆ ผ่านการประเมินเพียงร้อยละ 6 ถึง 7 ซึ่งเป็นการอธิบายว่าเหตุใดจีนจึงมีอุบัติในการทำเหมืองมากมายในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
 
ศาสตราจารย์หวาง คานฟา ([[:en:Wang Canfa|Wang Canfa]]) ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติสิ่งแวดล้อมแห่งมหาวิทยาลัยรัฐศาสตร์และกฎหมายให้ความเห็นว่า ลำพัง SEPA เองไม่อาจรับประกันการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับทางสิ่งแวดล้อม และว่าอัตราการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับสิ่งแวดล้อมนับได้อย่างมากก็เพียงร้อยละ 10 เท่านั้น<ref>{{cite web
| last = Gu
| first = Lin
บรรทัด 90:
# '''รายละเอียดผลกระทบสำคัญที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม'''
#* คำว่า “สำคัญ” ในที่นี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากระดับการให้ความสำคัญมีความผันแปรได้มาก
#* จะต้องมีการให้นิยามของคำว่า “สำคัญ”
#* วิธีการที่ใช้บ่อยมากในเรื่องนี้คือ “[[แม่แบบลีโอโปลด์]]” หรือ ''ลีโอโปลด์เมทริกซ์'' (Leopold matrix)
#* แม่แบบนี้คือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการตรวจสอบอย่างเป็นระบบใน[[ศักยภาพของปฏิสัมพันธ์]]
#* เช่น ในการสร้าง[[ลานกลุ่มกังหันลม]] (windfarm) ผลกระทบที่สำคัญอาจได้แก่การประทะกับฝูงนก
# '''การบันเทาบรรเทาผลกระทบ'''
#* นี่คือส่วนที่เป็นประโยชน์ที่สุดของการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
#* เมื่อทำหมวด 4 แล้วเสร็จก็จะเห็นได้ว่าผลกระทบที่รุนแรงที่สุดจะเกิดในส่วนใด
บรรทัด 140:
 
=== ประเทศไทย ===
'''[[ประเทศไทย''']]ได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ '''พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ [[พ.ศ. 2518]]''' ซึ่งได้กำหนดให้มีการแต่งตั้ง[[คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ]]ขึ้น มีอำนาจหน้าที่ คือ
# เสนอนโยบายและความเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษา[[คุณภาพสิ่งแวดล้อม]]
 
1)# เสนอนโยบายและให้ความเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาโครงการ ที่อาจส่งผลเสียหายต่อคุณภาพ[[คุณภาพสิ่งแวดล้อม]]
 
2) ให้ความเห็นเกี่ยวกับโครงการ ที่อาจส่งผลเสียหายต่อคุณภาพ[[สิ่งแวดล้อม]]
 
ต่อมาได้มีการออก'''[[พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ]] ฉบับที่ 2 [[พ.ศ. 2521]]'''
ทั้งนี้เนื่องจากพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 มิได้มีการระบุให้แน่ชัดเกี่ยวกับอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติบางเรื่อง จึงก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ดังนั้น จึงได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2518 โดยได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ชัดเจนและรัดกุมขึ้นกว่าเดิมรวม 3 ประการ คือ
1)# กำหนดให้มีการจัดทำ[[รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม]]สำหรับโครงการพัฒนาของรัฐและกิจกรรมบางประเภทของเอกชน
2)# ให้อำนาจในการกำหนด[[มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม]] ที่มิได้อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการใด ตลอดจนการกำหนดวิธีการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
3)# ดำเนินการในด้านการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ฉุกเฉิน
 
1) กำหนดให้มีการจัดทำ[[รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม]]สำหรับโครงการพัฒนาของรัฐและ
กิจกรรมบางประเภทของเอกชน
 
2) ให้อำนาจในการกำหนด[[มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม]] ที่มิได้อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการใด ตลอดจนการกำหนดวิธีการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 
3) ดำเนินการในด้านการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ฉุกเฉิน
สำหรับ[[กฎหมาย]]ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติสามารถเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อเอื้ออำนวยต่อการบริหารสิ่งแวดล้อม และแก้ไขอุปสรรคและข้อขัดข้องในทางปฏิบัติได้
ในเดือนกันยายน [[พ.ศ. 2524]] สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ หรือกิจการบางประเภทและบางขนาด โดยอาศัยอำนาจตามประกาศกฎ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน]]ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ [[27 กันยายน]] [[พ.ศ. 2524]] โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ[[ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม]]และคุณค่าต่าง ๆ ที่มีต่อมนุษย์ที่อาจจะถูกกระทบกระเทือน เนื่องจากโครงการหรือกิจการนั้น ๆ (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ [[พ.ศ. 2527]])
 
ในปี [[พ.ศ. 2535]] ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น '''พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม [[พ.ศ. 2535]]''' ในส่วนของการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ปรากฏใน '''ส่วนที่ 4 มาตราที่ 46 ถึง มาตราที่ 51'''
 
กฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตราโดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนำเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติม
 
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540]] ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต[[ชุมชน]] จะไม่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ของไทย ทำให้กฎหมายและข้อบังคับต่างๆต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
 
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 184 ⟶ 179:
*Glasson, J; Therivel, R; Chadwick A, Introduction to Environmental Impact Assessment, (2005) Routledge, London
*กนกพร สว่างแจ้ง.การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,2545
 
 
== เอกสารอ่านเพิ่มเติม ==