ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลมฟ้าอากาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{สภาพอากาศ}}
'''ลม[[ลิขสิทธิ์|ล]]มฟ้าอากาศ''' ({{lang-en|weather}}) เป็นสถานะของบรรยากาศ ถึงระดับที่ว่าบรรยากาศร้อนหรือเย็น เปียกหรือแห้ง สงบหรือมีพายุ เปิดหรือมีเมฆ<ref>Merriam-Webster Dictionary. [http://www.merriam-webster.com/dictionary/weather Weather.] Retrieved on 27 June 2008.</ref> ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศส่วนมากเกิดขึ้นในชั้น[[โทรโพสเฟียร์]]<ref>Glossary of Meteorology. [http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?p=1&query=hydrosphere&submit=Search Hydrosphere.] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120315161323/http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?p=1&query=hydrosphere&submit=Search |date=2012-03-15 }} Retrieved on 27 June 2008.</ref><ref name="trop">Glossary of Meteorology. [http://amsglossary.allenpress.com/glossary/browse?s=t&p=51 Troposphere.] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120928061111/http://amsglossary.allenpress.com/glossary/browse?s=t&p=51 |date=2012-09-28 }} Retrieved on 27 June 2008.</ref> ใต้ชั้น[[สตราโทสเฟียร์]] ลมฟ้าอากาศโดยทั่วไปหมายถึงอุณหภูมิวันต่อวันและกิจกรรม[[หยาดน้ำฟ้า]] ขณะที่[[ภูมิอากาศ]] (climate) เป็นคำใช้กับสภาพบรรยากาศโดยเฉลี่ยเป็นระยะเวลานาน<ref>{{cite encyclopedia | title = Climate | encyclopedia = Glossary of Meteorology | publisher = [[American Meteorological Society]] | url = http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=climate1 | accessdate =14 May 2008 }}</ref>
 
ลมฟ้าอากาศเกิดจากความแตกต่างของแรงดันอากาศ (อุณหภูมิและความชื้น) ระหว่างที่หนึ่งกับอีกที่หนึ่ง ความแตกต่างของความดันและอุณหภูมิเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นเนื่องจากมุมของดวงอาทิตย์ที่จุดหนึ่ง ๆ ซึ่งแตกต่างกันโดย[[ละติจูด]]จาก[[เขตร้อน]] ความแตกต่างของอุณหภูมิที่มากระหว่างอากาศบริเวณขั้วโลกและเขตร้อนทำให้เกิด[[เจ็ตสตรีม]] ระบบลมฟ้าอากาศในละติจูดกลาง เช่น [[พายุหมุนนอกเขตร้อน]] เกิดขึ้นจากความไร้เสถียรภาพของการไหลของเจ็ตสตรีม เพราะแกนของโลกเอียงเมื่อเทียบกับระนาบ[[วงโคจร]] [[แสงอาทิตย์]]จึงตกกระทบที่มุมต่างกันในแต่ละช่วงเวลาของปี บนพื้นผิวโลก ตามปกติอุณหภูมิมีพิสัย ±40 °C ต่อปี ในช่วงหลายพันปีที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงวงโคจรของโลกกระทบต่อปริมาณและการกระจาย[[พลังงานแสงอาทิตย์]]ที่โลกได้รับและส่งอิทธิพลต่อภูมิอากาศระยะยาวและ[[การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ]]ของโลก