ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งแยกนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มีคนมาปั่น
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Nuclear fission.svg|250px|thumb|ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชันแบบเหนี่ยวนำ นิวตรอนถูกดูดซับโดยนิวเคลียสของยูเรเนียม-235 เปลี่ยนมันให้เป็นนิวเคลียสของยูเรเนียม-236 พร้อมกับพลังงานการกระตุ้นที่เกิดจาก[[พลังงานจลน์]]ของนิวตรอนบวกกับแรงที่ยึดเหนี่ยวนิวตรอนไว้ในนิวเคลียส ผลก็คือ ยูเรเนียม-236 แยกออกเป็นส่วนประกอบที่เบากว่าและความเร็วสูง([[ผลผลิตจากฟิชชัน]]) และปลดปล่อยนิวตรอนอิสระออกมาสามตัว ในขณะเดียวกันก็ผลิต"รังสีแกมมาฉับพลัน" ({{lang-en|prompt gamma rays}}) ออกมาด่วย (ไม่ได้แสดงในภาพ)]]
 
 
'''การแบ่งแยกนิวเคลียส''' หรือ '''นิวเคลียร์ฟิชชัน'''<!--สะกด ฟิช ตามเสียงอ่าน--> ({{lang-en|nuclear fission}}) ในสาขา[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]และ[[เคมีนิวเคลียร์]] เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือกระบวนการ[[การสลายกัมมันตรังสี]]อย่างหนึ่งที่[[นิวเคลียสของอะตอม]] แตกออกเป็นชิ้นขนาดเล็ก (นิวเคลียสที่เบากว่า) กระบวนการฟิชชันมักจะผลิต[[นิวตรอน]]และ[[โปรตอน]]อิสระ (ในรูปของ[[รังสีแกมมา]]) พร้อมทั้งปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก แม้ว่าจะเป็นการปลดปล่อยจากการสลายกัมมันตรังสีก็ตาม