ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีใช้:ประวัติหน้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ประวัติศาสตราจารย์นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ
ย้อนการแก้ไขที่ 9917673 สร้างโดย ศาสตราจารย์นายแพทย์ยง (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{บอกวิธีวิกิพีเดีย}}
[[File:View History- marked screenshot.png|thumb|250px|หากคุณต้องการดูประวัติหน้า ให้ไปหน้า (ในตัวอย่างนี้คือ [[แมว]]) แล้วคลิกแถบ "[{{fullurl:แมว|action=history}} ประวัติ]" ในส่วนขวาบนของจอภาพ]]ชื่อ – นามสกุล (ระบุตำแหน่งวิชาการ)               ศาสตราจารย์นายแพทย์ยง  ภู่วรวรรณ
'''ประวัติหน้า''' แสดงลำดับการเปลี่ยนแปลงบทความวิกิพีเดียหรือหน้าอื่นบนวิกิพีเดีย ทุกหน้าที่สามารถแก้ไขบนวิกิพีเดียมีประวัติหน้าร่วม (บางครั้งเรียก '''ประวัติรุ่น''' หรือ '''ประวัติการแก้ไข''') ซึ่งสามารถเข้าถึงได้โดยคลิกแถบ "ประวัติ" บนสุดของหน้า
 
ประวัติหน้ามีรายการรุ่นก่อน ๆ ของหน้า รวมทั้งวันที่และเวลา (ใน [[UTC]]) ของการแก้ไขแต่ละครั้ง ชื่อผู้ใช้หรือเลขที่อยู่ไอพีที่แก้ไข และ[[วิธีใช้:คำอธิบายอย่างย่อ|คำอธิบายอย่างย่อ]] ตัวอย่างเช่น ประวัติหน้าของหน้าวิธีใช้นี้แสดงให้เห็นว่า หน้านี้ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2550 และมีการเปลี่ยนแปลงสิบกว่าครั้งในช่วงหกปีที่ผ่านมา
ตำแหน่ง (ในการทำงานปัจจุบัน)                      ศาสตราจารย์ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
การเรียกดูหน้าประวัติทำได้โดยกดปุ่ม "ประวัติ" ซึ่งอยู่ด้านบนสุดของแต่ละบทความ ตัวอย่างเช่น บทความเรื่อง [[จังหวัดเลย]] และ [http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A2&action=history หน้าประวัติของบทความจังหวัดเลย] เมื่อเลือกเข้าไป จะแสดงผลคล้ายดังรูป
ผลงานดีเด่นด้านเวชศาสตร์ป้องกัน
 
การแก้ไขแต่ละครั้งจะแสดงในแต่ละแถว โดยแสดงถึง เวลาและวันที่ที่มีการแก้ไข ตามด้วย[[วิกิพีเดีย:ชื่อผู้ใช้|ชื่อผู้ใช้]]ของผู้ที่แก้ไขบทความ ถ้าผู้แก้ไขไม่ได้ล็อกอิน [[หมายเลขไอพี]]ของผู้แก้ไขจะถูกแสดงแทนที่ ถัดมาเป็นตัวเลขในวงเล็บจะแสดงถึงจำนวน[[ไบต์]]ของข้อมูล (แสดงถึงจำนวนตัวอักษร โดยตัวอักษรภาษาไทยหนึ่งตัวจะมีขนาดเท่ากับ 3 ไบต์ และตัวอักษรละตินจะเท่ากับ 2 ไบต์) และด้านหลังจากตัวเลขในวงเล็บจะเป็นการสรุปการแก้ไข หากผู้แก้ไขได้ระบุไว้
ศาสตราจารย์นายแพทย์ยงภู่วรวรรณ เป็นผู้บุกเบิก ด้านระบาดวิทยา โรคไวรัสตับอักเสบ และการป้องกัน โดยเริ่มศึกษาไวรัสตับอักเสบตั้งแต่ปี พ.ศ 2524 เป็นต้นมาและได้ศึกษาวิธีการป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี  โดยเฉพาะการใช้ไวรัสตับอักเสบบีวัคซีนในทารกแรกเกิด ผลงานประสิทธิภาพในการป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบีในทารก ได้ถูกนำไปใช้ในการวางแผนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี โดยเริ่มให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีในทารกทุกคนในแผนนำเข้าที่จังหวัดชลบุรีและเชียงใหม่ในปี พศ 2532 และเข้าสู่แผนการให้วัคซีนแห่งชาติ (EPI) ในปีพ.ศ 2535 เป็นต้นมา หลังจากนั้นยังได้ติดตาม ศึกษาถึงประสิทธิภาพในการป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบ ในประเทศไทย โดยมีการสำรวจไวรัสตับอักเสบ บี ในประเทศไทย ในปี พ.ศ 2542   และได้มีการสำรวจ ระดับชาติถึงอุบัติการณ์ไวรัสตับอักเสบ เอ บี และ ซี ในปี พ.ศ  2547  และในปี พ.ศ 2557 ทำให้ทราบถึงระบาดวิทยาของไวรัสตับอักเสบในประเทศไทย ข้อมูลดังกล่าว ใช้ในการอ้างอิง วางแผนป้องกัน โรคไวรัสตับอักเสบ และขณะนี้ มีโครงการในการที่จะกวาดล้างไวรัสตับอักเสบ ให้เหลือน้อยที่สุดในประเทศไทย ในปีพ.ศ 2573 (hepatitis elimination by 2030) โดยใช้จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นจังหวัดนำร่อง และจะขยายโครงการไปสู่จังหวัดอื่น นอกจากนี้ยังเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาไวรัสตับอักเสบ อี ในประเทศไทย พบว่าแหล่งรังโรคอยู่ในหมู และผู้ป่วยจำนวนหนึ่ง จะติดเชื้อจากการรับโลหิต จึงมีการศึกษาอุบัติการณ์ในผู้บริจาคโลหิต และนำมาซึ่งมีการตรวจกรองนำร่อง ไวรัสตับอักเสบ อี ในผู้บริจาคโลหิต สำหรับผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ
 
เมื่อต้องการดูรุ่นแก้ไขใดนั้น สามารถเรียกดูได้ทุกรุ่นโดยกดที่ "วันที่" และหน้าของบทความนั้นจะแสดงขึ้นมา ณ เวลาที่แก้ไขนั้น
ในทุกครั้งที่มีการระบาดของโรคอุบัติใหม่ ศาสตราจารย์นายแพทย์ยง ยังเป็นผู้ร่วมทำการศึกษาวิจัย หาแนวทางในการควบคุมป้องกันและดูแล ตั้งแต่เริ่มมีการระบาดของไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009  โรคมือเท้าปาก ไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน การศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรค ในแผนการให้วัคซีนระดับชาติ ดังจะเห็นได้จากผลงานที่เป็นประจักษ์ในการใช้เป็นข้อมูลในการควบคุมป้องกัน และเป็นแหล่งอ้างอิงในระดับสากลมาโดยตลอด
 
เมื่อมีการระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย นายแพทย์ยง ยังได้มีการศึกษาวิจัย ทางด้านระบาดวิทยาชีวโมเลกุล การศึกษาสายพันธุ์ต่างๆที่ระบาดในประเทศไทย ผลกระทบของโรคโควิด 19 ต่อระบบสาธารณสุขของไทย ภูมิต้านทานที่เกิดขึ้นในผู้ที่ติดเชื้อโดยทำการศึกษาระยะยาว รวมทั้งการนำพลาสมาของผู้ที่หายป่วยมาใช้ในการรักษาในระยะแรกที่ยังไม่มียาและวัคซีนในการสร้างภูมิต้านทาน การศึกษาประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกัน covid 19 ในประเทศไทยและการใช้วัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในขณะที่มีวัคซีนในจำนวนจำกัด จึงเป็นที่มาของการศึกษา การใช้วัคซีนสูตรผสม การกระตุ้นแบบสูตรผสม เกิดขึ้นในประเทศไทยและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล งานวิจัยดังกล่าวองค์การอนามัยโลกได้ใช้เป็นข้อมูลในการออกคำแนะนำในการใช้วัคซีนโควิด-19  แบบสูตรผสม  ในวันที่ 16 ธันวาคม 2564
 
ผลงานของศาสตราจารย์นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ ได้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ บนฐานข้อมูล PubMed มากกว่า 650 เรื่อง และมีการนำไปอ้างอิง มากกว่า 22,000 ครั้ง โดยมีค่าดัชนี H เท่ากับ 68 บนฐานข้อมูล Google Scholar
 
 
รางวัลที่เคยได้รับ
 
๒๕๓๒        รางวัลผลงานวิจัยดี เรื่อง ไวรัสตับอักเสบและการป้องกัน จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
๒๕๓๔        รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น เรื่อง การดูแลทารกที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะไวรัสตับอักเสบ บี
 
ผลการศึกษาระยะยาว 5 ปี จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
๒๕๓๖        รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง ปัญหาและการป้องกันไวรัสตับอักเสบ จากสภาวิจัยแห่งชาติ
 
๒๕๔๐        รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
 
๒๕๔๐         รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 
๒๕๔๐-๒๕๕๐    เมธีวิจัยอาวุโส สกว  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
 
๒๕๔๖       รางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล-บี บราวน์ เพื่อการแพทย์และสาธารณสุขไทย
 
๒๕๔๖      รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่ได้รับการอ้างอิง (Citation)    สูงสุด
 
ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๖ จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งประเทศไทย
 
๒๕๔๗    รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยมเรื่อง ไข้หวัดนก จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
 
๒๕๔๙       รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง ไข้หวัดนกในประเทศ จากสำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 
 
๒๕๕๐    รางวัลปาฐกถาประสงค์ ตู้จินดา จากคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 
๒๕๕๐    รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา จากพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
 
๒๕๕๑    รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น จากสมาคมศิษย์เก่า คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
๒๕๕๕    ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยมจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 
๒๕๕๔    กุมารแพทย์อาวุโสดีเด่นประจำปี พศ 2554  จากราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและ
 
สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
 
๒๕๕๘    ศาสตราจารย์ยง ภู่วรวรรณ เป็นราชบัณฑิต ประเภทวิชาแพทยศาสตร์และทันต
 
          แพทยศาสตร์ สาขาวิชากุมารเวชศาสตร์ สํานักวิทยาศาสตร์
 
๒๕๕๘    รางวัลศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ดีเด่นจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
๒๕๕๘   รางวัลแพทย์ต้นแบบของแพทยสภา (Outstanding Achievement Doctor) แพทยสภาแห่งประเทศไทย
 
๒๕๖๒    รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ในการพัฒนางานวัคซีน จากสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 
 
๒๕๖๒    รางวัลผู้อุทิศตนและเผยแพร่ความรู้ทางพันธุศาสตร์อย่างต่อเนื่อง และทำคุณประโยชน์ต่อประเทศ จากสมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย
 
๒๕๖๓    บุคคลผู้มีธรรมาภิบาล  จากคณะกรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพัฒนา
 
๒๕๖๓   บุคคลคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์แห่งปี 2020  จากมูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
 
๒๕๖๔    Innovative for Crisis Individual Award จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
 
๒๕๖๔    นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เกียรติยศ จากมูลนิธิกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
๒๕๖๔    Outstanding Pediatrician of the Year จากราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
 
๒๕๖๔    รางวัลผู้ปิดทองหลังพระ จากสมาคมนักข่าวอาชญากรรมแห่งประเทศไทย
 
๒๕๖๔    รางวัลผู้เสียสละเพื่อสังคม จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 
๒๕๖๕    กุมารแพทย์ดีเด่นแห่งเอเชีย ประจำปี ๒๕๖๕" (Outstanding Asian Pediatrician Award (OAPA) 2022) จากสมาคมกุมารเวชศาสตร์แห่งเอเชียแปซิฟิก (APPA)
 
 
 
ประวัติการทำงาน
 
อาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. ๒๕๒๒-๒๕๒๔ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปี ๒๕๒๔-๒๕๒๗ รองศาสตราจารย์ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗-๒๔๓๓ ศาสตราจารย์ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ศาสตราจารย์ระดับ  ๑๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ปี พ.ศ. ๒๕๓๕-ปัจจุบัน
 
 
เกียรติยศ
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่ได้รับ
 
ท.ม.ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย 5 ธันวาคม 2528    
 
ท.ช. ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2532
 
ป.ช .ประถมาภรณ์มงกุฎไทย  5 ธันวาคม 2535
 
ป.ช .ประถมาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2538
 
ม.ว.ม.  มหาวชิรมงกุฎ 5 ธันวาคม 2538        
 
ม.ป.ช.   มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก  5 ธันวาคม 2544
 
ร.จ.ภ. เหรียญจักรพรรดิมาลา 5 ธันวาคม 2547​
 
== การใช้หน้าประวัติ ==
ในหน้าประวัติ
* การเปลี่ยนแปลงในหน้าที่กำลังกล่าวถึงทั้งหมดแสดงรายการแบบเรียงลำดับจากใหม่สุดไปเก่าสุดจากบนลงล่าง