ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเห็นพ้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 5:
 
== อรรถาธิบาย ==
* ได้<ref>Lijphart, Arend (1984). Democracies: Patterns of Majoritarian and Consensus Government in Twenty-one Countries. New Haven: Yale University Press.</ref>
ความเห็นพ้องเป็นรูปแบบการตัดสินใจที่ถูกออกแบบมาให้มีความแตกต่างจากการตัดสินใจโดยใช้เสียงข้างมาก (majority decision) ฉะนั้น ความเห็นพ้องจะไม่เน้นที่การลงคะแนนเสียง เพราะการลงคะแนนเสียงอาจทำให้เสียงข้างน้อย (minorities) ถูกละเลยไปได้ ดังนั้น ความเห็นพ้องจึงเน้นที่กระบวนการในการอภิปรายถกเถียง รับฟังความคิดเห็นเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันระหว่างทุกฝ่ายมากกว่า หรืออาจจะกล่าวได้ว่าความเห็นพ้องเป็นรูปแบบการตัดสินใจที่จะป้องกันปรากฏการณ์ที่เรียกว่า[[เผด็จการเสียงข้างมาก]] (majority tyranny)
การตัดสินใจแบบความเห็นพ้อง เป็นกระบวนการตัดสินใจที่กลุ่มคนจำนวนมากอาจเห็นไม่ตรงกัน แต่ต้องการให้เกิดการมีส่วนร่วมและความเห็นพ้องต้องกันมากที่สุด กระบวนการถกอภิปราย ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
* ''รวมคนทุกกลุ่ม (inclusive) '': เปิดให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในกระบวนการถกอภิปรายให้มากที่สุด
* ''เปิดช่องทางการมี[[ส่วนร่วม]] (participatory) '': ผู้เข้าร่วมต้องมีโอกาสแสดงความคิดเห็น
* ''ร่วมด้วยช่วยกัน (collaborative) '': ทุกกลุ่ม ทุกคน ร่วมมือกันเสนอทางเลือก คนที่มีความเห็นคล้ายกันพยายามปรับข้อเสนอให้เป็นตัวแทนความคิดของกลุ่มตน เพื่อให้กลุ่มอื่นพิจารณา
* ''หาข้อตกลง (agreement seeking) '': เป้าหมายคือ พยายามหาข้อตกลงร่วมกันให้มากที่สุด เป้าหมายสูงสุดคือความเห็นพ้องต้องกันอย่างสมบูรณ์
* ''เกื้อกูลกัน (cooperative) '': ผู้เข้าร่วมควรมีหัวใจอยู่ที่ผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย ควรปล่อยให้ทุกกลุ่มได้แสดงความต้องการที่แท้จริงของตนเอง เพื่อนำมาปรับเข้ากับทางเลือกที่ทุกฝ่ายจะยอมรับร่วมกันได้ ขณะเดียวกัน ก็ไม่ควรให้ความต้องการเฉพาะของกลุ่มตนบดบังหรือทำให้ผลประโยชน์ร่วมกันไม่สามารถบรรลุได้<ref>Lijphart, Arend (1984). Democracies: Patterns of Majoritarian and Consensus Government in Twenty-one Countries. New Haven: Yale University Press.</ref>
 
'''ขั้นตอนไปสู่การตัดสินใจแบบความเห็นพ้อง'''