ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9748852 โดย Potapt (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 31:
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติไทย<ref name="อมรดรุณารักษ์">อมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), จมื่น พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม ๖ องค์การค้าคุรุสภา ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์, ๒๕๑๒ เรื่อง "เหตุที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยนธงชาติ". (บทความชิ้นนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือ [http://www.t-h-a-i-l-a-n-d.org/thaiflag/newsite/detail.php?id=166 "วชิราวุธานุสรณ์ ๒๔๙๖"] พิมพ์ที่โรงพิมพ์รวมมิตรไทยเมื่อ พ.ศ. 2496)</ref> (ขณะนั้นยังเรียกชื่อประเทศว่า[[สยาม]]) แทนธงช้างเผือก (ซึ่งใช้เป็นธงชาติมาตั้งแต่รัชกาลที่ 3) เพื่อแก้ไขปัญหาที่ทำตัวช้างเผือกไม่สวยงาม<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=V8P_5BbDVao&t=86s หยุดเชื่อ ... หยุดสอน ... เรื่องธงช้างกลับหัว อันเป็นเหตุเปลี่ยนธงชาติไทย]</ref> โดยเริ่มแรกในปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศใช้ธงแดง-ขาว 5 ริ้วเป็นธงค้าขายสำหรับสามัญชนไปก่อน ก่อนจะเติม[[สีขาบ]]ลงไปบนแถบกลางเพื่อเป็นอนุสรณ์ในการเข้าร่วม[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]กับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] และเพื่อระลึกถึงรัชกาลที่ 6 เมื่อช่วงปลายปี พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน<ref name="ฉวีงาม">ฉวีงาม มาเจริญ. ธงไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๒๐. </ref>
 
=== ป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท) ===
[[ไฟล์:Thailand_Symbols_Border.svg|250px|thumbnail|right|ตัวอย่างป้ายบังคับ [[ธงชาติ]] (จำกัดความเร็วแบ่งตามประเภทของรถ)]]
ป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว (แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท) ธงชาติไทย (ส่วน) ศาสตร์การใช้ธงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย<ref>[[ป้ายแนะนำ]]แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท</ref> หน้า 2 [[แบบมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท]] ป้ายแนะนำแหล่งท่องเที่ยว ของไทยไว้ว่าว่า ได้กล่าวว่า
== ประวัติ ==
=== กำเนิดธงสยาม ===
เส้น 78 ⟶ 75:
 
=== ธงแดงขาว 5 ริ้ว (พ.ศ. 2459) ===
ธงช้างเผือกเปล่าได้ใช้เป็นธงชาติสยามสืบมานานถึง 84 ปี กินระยะเวลารวมถึง 4 รัชกาล จนกระทั่งในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2459 ตามบันทึกในหนังสือ[[วชิราวุธานุสรณ์ ๒๔๙๖]] ของ[[จมื่นอมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช)]] ได้บันทึกว่า [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6 เสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดเขาสะแกกรัง (ปัจจุบันคือ[[วัดสังกัสรัตนคีรี]]) ใน[[เมืองอุทัยธานี]] ซึ่งขณะนั้นประสบเหตุอุทกภัย และในยุคนั้นธงช้างถือว่าเป็นของหายาก มีราคาแพง เพราะต้องสั่งทำจากต่างประเทศ อีกทั้งธงช้างที่มีขายบางแบบนั้นผลิตมาจากประเทศที่ไม่รู้จักช้าง รูปร่างของช้างที่ปรากฏจึงไม่น่าดู แม้กระนั้น ก็ยังมีราษฎรคนหนึ่งซึ่งตั้งใจรอรับเสด็จหาธงช้างมาได้ แต่ด้วยความประมาทจึงประดับธงผิดด้าน กลายเป็นประดับกลับหัว ซึ่งเป็นการสื่อเจตนาที่เสื่อมเสียแก่พระเกียรติยศ เนื่องจากเป็นลักษณะของช้างเผือกล้ม ซึ่งส่อให้เห็นเป็นลางร้ายได้ว่าพระมหากษัตริย์อาจเสด็จสวรรคตเร็วกว่าปกติ พระองค์ทอดพระเนตรเห็นเหตุการณ์ดังนั้นจึงทรงมีพระราชดำริว่า ธงชาติต้องมีรูปแบบที่สมมาตร และราษฎรสามารถทำใช้เองได้จากวัสดุภายในประเทศ เพื่อมิให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นอีก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนรูปแบบธงชาติ เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบยาวสีแดง 3 แถบ สลับกับแถบสีขาว 2 แถบ ซึ่งเหมือนกับธงชาติไทยในปัจจุบัน แต่มีเพียงสีแดงสีเดียว ซึ่งธงนี้เรียกว่า ''ธงแดงขาว 5 ริ้ว'' (ชื่อในเอกสารราชการเรียกว่า ''ธงค้าขาย'') ทั้งนี้ สำหรับหน่วยงานราชการของรัฐบาลสยามยังคงใช้ธงช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ แต่เป็นแบบทรงเครื่องยืนแท่น ซึ่งแต่เดิมธงนี้เป็นธงสำหรับเรือหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 และมีฐานะเป็นธงราชการอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2453
รักหีเหมือนกับธงชาติไทยในปัจจุบัน แต่มีเพียงสีแดงสีเดียว ซึ่งธงนี้เรียกว่า ''ธงแดงขาว 5 ริ้ว'' (ชื่อในเอกสารราชการเรียกว่า ''ธงค้าขาย'') ทั้งนี้ สำหรับหน่วยงานราชการของรัฐบาลสยามยังคงใช้ธงช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ แต่เป็นแบบทรงเครื่องยืนแท่น ซึ่งแต่เดิมธงนี้เป็นธงสำหรับเรือหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2440 และมีฐานะเป็นธงราชการอยู่ก่อนแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2453
 
แต่ต่อมามีการค้นพบหลักฐานใหม่ ซึ่งพบว่ารัชกาลที่ 6 ได้มีพระราชประสงค์ในการเปลี่ยนและเพิ่มแบบธงสำหรับธงสำหรับชาติสยามใหม่ สำหรับประชาชนเพื่อใช้ในการค้าขาย ล่องเรือระหว่างประเทศและใช้ประดับบนบกอยู่แล้ว ซึ่งมีบันทึกอยู่ในเรื่องเปลี่ยนธงสำหรับชาติสยาม (๘ พ.ค. - ๖ มิ.ย. ๒๔๕๙)<ref>ปัจจุบันถูกเก็บไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ</ref> โดยมีการบันทึกว่า "เพราะ การค้าขายของเรานั้นเห็นว่าจะเจริญแล้ว จึงได้ใช้ธงชนิดนี้ขึ้นใหม่สำหรับการค้าขาย และเป็นธงทั่วไปด้วย นอกจากธงราชการ" และมีจดหมายเหตุรายวัน เล่ม ๒ พระพุทธศักราช ๒๔๕๙ วันที่ ๑๔ กันยายน ถึง วันที่ ๑๐ มีนาคม ซึ่งเป็นลายพระหัตถ์ของรัชกาลที่ 6 ได้ระบุว่า "วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ (กันยายน 2459) เวลาเข้า ๔ โมงเศษ ไปลงเรือเก่ากึ่งยามที่[[ท่าวาสุกรี]] เรือกลไฟจึงขึ้นมาตามลำน้ำ แวะกินกลางวันที่วัดไก่เตี้ย แขวง[[จังหวัดปทุมธานี|เมืองประทุมธานี]], และเดินเรือต่อมาจนค่ำถึง[[อำเภอบางปะอิน|บางปะอิน]]; พักแรม ๑ คืน" ซึ่งหมายความว่าวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2459 รัชกาลที่ 6 ยังทรงประทับพักแรมอยู่ที่[[จังหวัดพระนคร|พระนคร]] ไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดเขาสะแกกรังตามบันทึกของจมื่นอมรดรุณารักษ์ และเนื่องจากจดหมายเหตุรายวันเป็นลายพระหัตถ์ของรัชกาลที่ 6 จึงเป็นหลักฐานที่หนาแน่นและน่าเชื่อถือที่สุดในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีปรากฏใน[[ข่าวในพระราชสำนัก]]ประจำวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2459 ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]อีกด้วย โดยระบุว่า "วันนี้เวลาป่าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนิรโดยรถยนต์พระทีนั่งยังสนามฟุตบอลสโมสรเสือป่า ทอดพระเนตร์การแข่งขันฟุตบอล ระหว่างสโมสรฟุตบอลกรมมหรศพ กับสโมสรฟุตบอลกระทรวงยุติธรรม เมื่อเสร็จการแข่งขันแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานถ้วยหลวงใหญ่แก่สำรับกรมมหรศพ ซึ่งเปนพวกทีชนะในการแข่งขันฟุตบอลสำหรับถ้วยหลวงใหญ่ปีนี้ เมื่อพระราชทานรางวัลเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จประทับทอดพระเนตร์กระบวนแห่ถ้วยหลวงใหญ่ แห่ถ้วยไปยังสโมสรสถานกรมมหรศพ" จึงเป็นอีกหนึ่งหลักฐานที่ยืนยันได้ว่ารัชกาลที่ 6 ไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดเขาสะแกกรังในวันดังกล่าวตามที่จมื่นอมรดรุณารักษ์ได้บันทึกไว้