ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎมนเทียรบาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9785700 สร้างโดย 171.4.222.163 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
แก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
(กฎมลเทียรบาล)
{{สั้นมาก}}
กฎมลเทียรบาลนั้นคือการที่พระราชานั้นระบุว่าด้วยในส่วนของทาญาติที่สืบสกุลโดยสายเลือดโดยตรงสมัยก่อนนั้นได้ระบุไว้ว่าผู้ที่จะมาเป็นพระราชาได้แล้วนั้นจะต้องมาจากการแต่งตั้งของพระราชาพระองค์ที่ครองราชก่อนและต้องมาจากสายเลือดโดยตรงและต้องไม่ใช่ผู้ที่ กระทำตัวอันเป็นผู้ที่ซึ่งไม่สมควรแก่หน้าที่ที่จะได้รับมอบหมายก่อนที่จะครองราชต่อหลังงจากพระราชาพระองค์เดิม สิ้นพระชนม์หรือ สละราชสมบัติ หรือสละบันลังก์ไม่ว่าเหตุไดฯก็ตาม และต้องเป็นผู้ที่มีสิ่งที่บุคคลหรือคนปกติธรรมดาไม่มีและไม่เหมือนคนธรรมดาเช่น ความคิด,จิตใจ,การกระทำ,รวมถึงเจตจำนงค์ที่มั่นคงรักในแผ่นดินถิ่นเกิดนั้นฯและมีความคิดพัฒนาในเชิงบูรณาการบ้านเมืองมีความอดทนเสียสละมีความเข้มแข็งมุ่งมั่นกว่าคนทั่วไป ไม่ทะเยอทยาน,ในสิ่งที่เกินกว่าตนเองจะทำได้ในแต่ละเวลาเป็นผู้มีสถิตธรรมพิบาลในสิบทิศโดยบริขันทร์,สาทมารถรับรู้และรู้เข้าใจในสิ่งต่างฯได้เป็นอย่างดีและมีอธิบดีเหนือเกล้าจะต้องเป็นผู้ที่มีทั้ง เดชะบริบาท และ มหติธิบาททั้ง10ประการสามารสั่งได้แม้กระทั้งสิ่งมองไม่เห็นแต่เป็นที่ประจักษ์ในการกระทำที่ไม่แสดงอำนาจในทางไท่ใช่ในขณะอยู่ในอักขบริขารนั้น
[[File:Kotmonthianban-kotmaitrasamduang.jpg|thumb|upright=1.2|สำเนากฎมนเทียรบาลที่จัดแสดงใน[[สภาผู้แทนราษฎรไทย]]]]
'''กฎมนเทียรบาล''' บ้างสะกดเป็น '''กฎมณเฑียรบาล''' เป็นตัวบทกฎหมายใน[[ประวัติศาสตร์ไทย]]ตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] (พุทธศตวรรษที่ 19–24) ที่บัญญัติเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ราชสำนัก และรัฐบาล ในแง่หนึ่งทำหน้าที่เหมือนรัฐธรรมนูญช่วงอยุธยาตอนต้น<ref>Seni Pramoj, quoted in Baker & Phongpaichit 2016, p. 51</ref> หลังอยุธยาล่มสลาย กฎมนเทียรบาลเป็นหนึ่งในกฎหมาย 27 เรื่องที่ประมวลเข้าเป็น[[กฎหมายตราสามดวง]]ใน พ.ศ. 2348 ตามรับสั่งของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]<ref>Baker & Phongpaichit 2016, p. 1</ref>
 
ปัจจุบัน กฎมนเทียรบาลจำนวนหนึ่งยังมีผลอยู่ โดยมีอายุย้อนไปถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (ครองราชย์ พ.ศ. 2453–2468) กฎที่สำคัญที่สุดคือ[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467]] ซึ่ง[[รัฐธรรมนูญไทย]]ยอมรับให้ใช้ได้<ref>{{cite web |author1=รังสิทธิ์ วรรณกิจ |title=กฎมณเฑียรบาล |url=http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%80%E0%B8%91%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5_(%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C_%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88) |website=wiki.kpi.ac.th |publisher=King Prajadhipok's Institute |accessdate=17 October 2019 |language=th |date=2017}}</ref>
 
==อ้างอิง==
{{reflist}}
 
==บรรณานุกรม==
*{{cite book |last1=Chris |first1=Baker |last2=Phongpaichit |first2=Pasuk |title=The Palace Law of Ayuttaha and the Thammasat: Law and Kingship in Siam |date=2016 |publisher=Cornell University Press |isbn=9781501725968}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{สถานีย่อยวิกิซอร์ซ}}
{{clear}}
[[Category:กฎหมายไทย]]
[[Category:พระมหากษัตริย์ไทย]]
 
{{โครงประเทศไทย}}
{{โครงกฎหมาย}}