ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอมูอามูอา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำผิด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| pronounced = {{IPAc-en|audio=Haw-oumuamua.oga|oh|'|m|oo|@|'|m|oo|@}}
| named_after = ([[Hawaiian language|Hawaiian]] name)<ref name="MPEC2017-V17" />
| mp_category = [[Interstellar object]]<ref name="MPEC2017-V17" /><br />hyperbolic asteroid (JPL)<ref name="jpldata">{{cite web |title=JPL Small-Body Database Browser: {{okina}}Oumuamua (A/2017 U1) |url=https://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=1I |url-status=live |website=[[JPL Small-Body Database]] |publisher=[[Jet Propulsion Laboratory]] |access-date=19 March 2021 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210121065013/https://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=1I |archive-date=19 March 2021}}</ref>
| orbit_ref = &thinsp;<ref name="jpldata" />
|title = JPL Small-Body Database Browser: ʻOumuamua (A/2017 U1)
|url = https://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=2017U1;cad=1 |dead-url=no
|website = [[JPL Small-Body Database]]
|publisher = [[Jet Propulsion Laboratory]]}}<br/>
| orbit_ref = &thinsp;<ref name="jpldata" />
| epoch = 2017-Oct-31 ([[Julian day|JD]] 2458057.5)
| observation_arc = 34 days
เส้น 43 ⟶ 39:
'''โอมูอามูอา''' ({{lang-en|ʻOumuamua}}; ชื่ออย่างเป็นทางการ '''1I/2017 U1''') เป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์วัตถุแรกที่ทราบที่ผ่านเข้า[[ระบบสุริยะ]] รอเบิร์ต เวริก (Robert Weryk) ค้นพบบนแนววิถีไฮเปอร์บอลิกที่[[ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร|เยื้องศูนย์กลาง]]มากเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2560 หลังผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 40 วัน มีการสังเกตครั้งแรกโดยกล้องโทรทรรศน์ แพนสตาส์ (Pan-STARRS) เมื่อวัตถุมีระยะห่างจากโลกประมาณ 85 เท่าของระยะทางโลก–ดวงจันทร์<ref name="Gemini">{{cite press release |url=http://www.gemini.edu/node/12729 |title=First Known Interstellar Visitor is an 'Oddball' |website=Gemini Observatory |date=20 November 2017 |access-date=28 November 2017}}</ref> โดยมุ่งออกจากดวงอาทิตย์ เดิมคาดว่าเป็น[[ดาวหาง]] แต่หนึ่งสัปดาห์ถัดมามีการจำแนกใหม่เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]] ซึ่งขณะนั้นเป็นวัตถุระหว่างดาวฤกษ์กลุ่มใหม่วัตถุแรก เนื่องจากแนววิถีไฮเปอร์บอลิกมากของมัน สุดท้ายมันจะออกจากระบบสุริยะและกลับสู่อวกาศระหว่างดาวฤกษ์อีกครั้ง เวลาที่วัตถุนี้เดินทางท่ามกลางดาวฤกษ์ใน[[จานดาราจักร]]นั้นไม่ทราบ
 
โอมูอามูอาเป็นวัตถุขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 800 × 100 ฟุต มีสีดำออกแดง คล้ายวัตถุใน[[ระบบสุริยะ#ระบบสุริยะชั้นนอก|ระบบสุริยะชั้นนอก]] วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2561 นักดาราศาสตร์รายงานว่า โอมูอามูอา เป็น[[ดาวหาง]]ไม่ใช่[[ดาวเคราะห์น้อย]]ตามที่เคยจำแนกเอาไว้<ref name="NYT-20180627">{{cite news |last=Overbye |first=Dennis |authorlink=Dennis Overbye |title=Oumuamua Is a Comet, Really. |title=https://www.nytimes.com/2018/06/27/science/oumuamua-comet-asteroid.html |date=27 June 2018 |work=[[The New York Times]] |accessdate=27 June 2018 }}</ref><ref name="NAT-20180627">{{cite journal |last=Witze |first=Alexandra |title=Mysterious interstellar visitor is a comet not an asteroid - Quirks in ‘Oumuamua’{{okina}}Oumuamua's path through the Solar System helped researchers solve a case of mistaken identity. |url=https://www.nature.com/articles/d41586-018-05552-9 |date=27 June 2018 |journal=[[Nature (journal)|Nature]] |doi=10.1038/d41586-018-05552-9 |accessdates2cid=126317359 |access-date=27 June 2018 |archive-date=27 June 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180627181835/https://www.nature.com/articles/d41586-018-05552-9 |url-status=live }}</ref>
 
== อ้างอิง ==