ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Autoisme (คุย | ส่วนร่วม)
ต้องพิมพ์สระแบบนี้ เพราะในอุปกรณ์เคลื่อนที่เช่น สมาร์ทโฟน แสดงผลยูนิโค้ดผิดพลาดเพราะ สระช้อนกัน
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้เลขอารบิก
บรรทัด 139:
อนึ่งเสียงรัวลิ้น "ร" และเสียงไม่รัวลิ้น "ล" ถือว่าไม่ต่างกัน ซึ่งบางครั้งเสียง "ล" จะกลายเป็นเสียง "ร" ก็ไม่ถือว่าต่างกันแต่อย่างใด
 
คำควบกล้ำในภาษาไทยถิ่นเหนือนั้น มี ๑๑11 เสียงได้แก่
*/kw/ กว ({{Script|Lana|ᨠ᩠ᩅ, ᨣ᩠ᩅ}})
*/xw/ ขว, คว ({{Script|Lana|ᨡ᩠ᩅ, ᨢ᩠ᩅ, ᨤ᩠ᩅ}})
บรรทัด 281:
* ไปตังใดมา = ไปแถว(ที่)ไหนมา
 
การพูดคำเมืองผสมกับภาษาไทยนั้น คำเมืองจะเรียกว่า ปะแล้ด (ไทยปะแล้ดเมือง) ซึ่งโดยมากแล้วมักจะพบใน คนที่พูดคำเมืองมานาน แล้วพยายามจะพูดไทย หรือ คนพูดภาษาไทยพยายามจะพูดคำเมือง เผลอพูดคำทั้ง 2 ภาษามาประสมกัน
อนึ่งการพูดคำเมืองมีการแยกระดับของความสุภาพอยู่หลายระดับ ผู้พูดต้องเข้าใจในบริบทการพูดว่าในสถานการณ์นั้น ๆ ต้องพูดระดับภาษาอย่างไรให้เหมาะสมและมีความสุภาพ เพราะมีระบบการนับถือผู้ใหญ่ คนสูงวัยกว่า เช่น
* ลำ (อร่อย)