ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ddjingjing (คุย | ส่วนร่วม)
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Gay icon.svg|thumb|สัญลักษ์ชายไขว้ (Crossed Mars) สัญลักษณ์ประจำเพศเกย์]]
[[ไฟล์:Marcha-buenos-aires-gay2.jpg|thumb|230px|ชุมชนเกย์ในอาร์เจนตินา]]
'''เกย์''' ({{lang-en|Gay}}) เป็นศัพท์ที่โดยหลักสื่อถึงบุคคลที่มีรสนิยมหรือพฤติกรรมแบบรักร่วมเพศ เดิมมีความหมายว่า 'ไร้กังวล', 'ร่าเริง' หรือ 'สดใสและสะดุดตา'<ref>{{cite book|last1=Hobson|first1=Archie|title=The Oxford Dictionary of Difficult Words|date=2001|publisher=[[Oxford University Press]]|edition=1st|isbn=978-0195146738|url-access=registration|url=https://archive.org/details/oxforddictionary00arch}}</ref>
'''เกย์''' ({{lang-en|Gay}}) มักหมายถึงบุคคลที่มีรสนิยมทางเพศแบบ[[รักร่วมเพศ]] เดิมคำว่าเกย์ใน[[ภาษาอังกฤษ]]มีความหมายว่า ''ไร้กังวล มีความสุข ความสำราญใจ เฉียบแหลมและน่าประทับใจ''<ref>[http://dictionary.reference.com/browse/gay ความหมายของคำว่า gay จาก Reference.com]</ref> แต่ในทุกวันนี้คำว่าเกย์มีความหมายทางวัฒนธรรมย่อยของคนที่รักเพศเดียวกัน และอาจมีความหมายร่วมกระบวนทัศน์ความเป็นเกย์เช่น เพลงเกย์ [[ภาพยนตร์|หนัง]]เกย์ เป็นต้น หรืออาจหมายถึงภาพรวมของความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกัน แม้คำว่าเกย์ไม่ได้จำกัดความทางเพศ แต่มักใช้เฉพาะกับกลุ่มผู้ชายรักเพศเดียวกัน ในขณะที่คำจำกัดความทางเพศอย่าง[[เลสเบี้ยน]] ก็ใช้เฉพาะกลุ่มผู้หญิงรักเพศเดียวกัน
 
ในขณะที่คำที่ใช้สื่อถึง[[เกย์ผู้ชาย|ชายที่มีรสนิยมรักร่วมเพศ]]สืบไปถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ความหมายนี้เริ่มพบได้ทั่วไปในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20<ref name=etymonline>{{cite web | last = Harper | first = Douglas | author-link = Douglas Harper | title = Gay | work = Online Etymology dictionary | date = 2001–2013 | url = http://www.etymonline.com/index.php?term=gay | access-date = 13 February 2006 | archive-url = https://web.archive.org/web/20060219193127/http://www.etymonline.com/index.php?term=gay | archive-date = 19 February 2006 | url-status=live }}</ref> ใน[[ภาษาอังกฤษ]]สมัยใหม่ ''เกย์'' ซึ่งใช้ได้ทั้ง[[คำวิเศษณ์|คำคุณศัพท์]]และ[[#คำนาม|คำนาม]] สื่อถึง[[LGBT community|สังคม]], [[Human sexual activity|การกระทำ]] และ[[วัฒนธรรมกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ|วัฒนธรรม]]ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักร่วมเพศ ในคริสต์ทศวรรษ 1960 ''เกย์'' กลายเป็นคำที่นิยมในหมู่[[เกย์ผู้ชาย]]เพื่อกล่าวถึง[[รสนิยมทางเพศ]]<ref>{{cite web|title=Gay|url=https://en.oxforddictionaries.com/definition/gay|website=[[Oxford English Dictionary]]|publisher=[[Oxford University Press]]|access-date=13 February 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180521235009/https://en.oxforddictionaries.com/definition/gay|archive-date=21 May 2018|url-status=live}}</ref> ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า ''เกย์'' ถูกแนะนำโดยกลุ่ม[[LGBT]]สายหลักและ[[ระเบียบงานสารบรรณ]]เพื่อกล่าวถึงการดึงดูดคนที่มีรสนิยมรักร่วมเพศ<ref>{{cite web|title=GLAAD Media Reference Guide - Terms To Avoid|url=http://www.glaad.org/reference/offensive|website=[[GLAAD]]|date=25 October 2016|access-date=21 April 2012|archive-url=https://web.archive.org/web/20120420141352/http://www.glaad.org/reference/offensive|archive-date=20 April 2012|url-status=live}}</ref><ref name=APAHeteroBiasLang>{{cite web|title=Avoiding Heterosexual Bias in Language|url=http://www.apa.org/pi/lgbt/resources/language.aspx|website=[[American Psychological Association]]|access-date=14 March 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20150321033057/http://www.apa.org/pi/lgbt/resources/language.aspx|archive-date=21 March 2015|url-status=live}} (Reprinted from [http://psycnet.apa.org/doiLanding?doi=10.1037%2F0003-066X.46.9.973 American Psychologist, Vol 46(9), Sep 1991, 973-974] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180603155851/http://psycnet.apa.org/doiLanding?doi=10.1037%2F0003-066X.46.9.973 |date=3 June 2018 }})</ref> ถึงแม้ว่าคำนี้มักใช้กับผู้ชายก็ตาม<ref name=glaad10/> ในขณะที่คำจำกัดความทางเพศอย่าง[[เลสเบี้ยน]] ก็ใช้เฉพาะกลุ่มผู้หญิงรักเพศเดียวกัน
 
การใช้คำว่าเกย์ในภาษาไทย จะหมายความถึงเฉพาะผู้ชายที่[[รักร่วมเพศ]]เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ผู้ชายที่[[รักสองเพศ]] (รักและมีเพศสัมพันธ์ได้กับทั้งชายและหญิง; [[ไบเซ็กชวล]]) ก็มักถูกเรียกว่าเป็นเกย์เช่นกัน ในประเทศไทยมีการแบ่งชนิดของเกย์ตามรสนิยมในการร่วมเพศ ได้แก่ '''เกย์รุก''' หรือ '''เกย์คิง''' คือเกย์ที่เป็นฝ่ายสอดใส่ในการร่วมเพศ, '''เกย์รับ''' หรือ '''เกย์ควีน''' คือเกย์ที่เป็นฝ่ายถูกสอดใส่ในการร่วมเพศ และ '''โบท''' คือเกย์ที่เป็นมีความพึงพอใจทั้งสองอย่างในการร่วมเพศ
 
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
* [[รุก, รับ และ โบท]]
* [[เกย์ผู้ชาย]]
เส้น 13 ⟶ 15:
 
== อ้างอิง ==
{{Reflist}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
== อ่านเพิ่ม ==
* {{Cite book |title=The Homosexual in America: A Subjective Approach |last=Cory |first=Donald Webster |year=1951 |publisher=Greenberg |page=107. Chapter 9 ("Take My Word For It") includes a valuable discussion of the term "gay."}}
* {{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=loqEKRQQ68UC |title=Beyond the Lavender Lexicon: Authenticity, Imagination, and Appropriation in Lesbian and Gay Language |last=Leap |first=William |year=1995 |isbn=978-2-88449-181-5 |publisher=Taylor & Francis |page=360}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{wiktionary-inline|Gay}}
*{{Commonscat-inline|Gay}}
*{{wikiquote-inline}}
*{{curlie|Society/Gay,_Lesbian,_and_Bisexual}}
 
{{Authority control}}
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เกย์"