ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชราธิปไตย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า ชราธิปไตย ไปยัง การปกครองโดยกลุ่มชนผู้สูงอายุ: ชรา เป็นคำวิเศษณ์ แปลตามรูปศัพท์ชื่อเดิมจะหมายถึง การปกครองโดยความแก่
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระบอบการปกครอง}}
 
'''การปกครองโดยกลุ่มชนผู้สูงอายุ'''<ref>{{cite news |url=http://elibrary.constitutionalcourt.or.th/document/read.php?bibid=11794&cat=4&typ=4&file=IS6D_610601.pdf |title= หลักประชาธิปไตย: ว่าด้วยหลักนิติธรรมในบริบทของศาลยุติธรรมไทย |accessdate=27 December 2021}}</ref> ({{lang-en|Gerontocracy}}) หรือเคยมีนักวิชาการเสนอคำว่า '''ชราธิปไตย'''<ref>{{cite news |last1=พงษ์สวัสดิ์ |first1=พิชญ์ |title=ชราธิปไตย (GERONTOCRACY) : โดย พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ |url=https://www.matichon.co.th/columnists/news_953625 |accessdate=27 December 2021 |work=มติชนออนไลน์ |date=15 May 2018 |language=th}}</ref> ({{lang-en|Gerontocracy}}) หมายถึงการปกครองโดยกลุ่มชนผู้สูงอายุ<ref>{{cite news |url=http://elibrary.constitutionalcourt.or.th/document/read.php?bibid=11794&cat=4&typ=4&file=IS6D_610601.pdf |title= หลักประชาธิปไตย: ว่าด้วยหลักนิติธรรมในบริบทของศาลยุติธรรมไทย |accessdate=27 December 2021}}</ref> เป็นระบอบ[[คณาธิปไตย]]รูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีผู้ชราเป็นสมาชิกส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมดของภาคการเมือง โครงสร้างทางการเมืองของหลายประเทศ ยิ่งสมาชิกหรือรอบครัวของชนชั้นปกครองมีอายุมากขึ้น ก็จะมีอำนาจมากขึ้น ทำให้กลุ่มคนผู้มีความชราที่สุดได้ครองตำแหน่งที่มีอำนาจที่สุด ในหลายสังคม กลุ่มผู้ครองอำนาจอาจไม่มีตำแหน่งผู้นำอย่างเป็นทางการ แต่กลับมีอิทธิพลครอบงำผู้นำที่อยู่ในตำแหน่งอย่างเป็นทางการ โดยสรุป ขราธิปไตยคือสังคมที่ตำแหน่งผู้นำถูกสงวนไว้แก่ผู้ชรา<ref>Maddox, G. L. (1987). The Encyclopedia of aging (p. 284). New York: Springer Pub. Co..</ref>
 
แนวคิดในการให้ผู้ชราเป็นผู้ครองอำนาจปรากฎอยู่ในหลายวัฒนธรรมตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ดังคำกล่าวอันโด่งดังของ[[เพลโต]]ที่ว่า "ปกครองคือผู้ชรา ยอมตามคือผู้เยาว์"<ref>Bytheway, B. (1995). Ageism (p. 45). Buckingham: Open University Press.</ref> หนึ่งตัวอย่างของสังคมชราธิปไตยคือนครรัฐ[[สปาร์ตา]] ซึ่งถูกปกครองโดย "เยรูเซีย" (Gerousia) อันเป็นสภานิติบัญญัติที่ประกอบด้วยผู้มีอายุเกินกว่าหกสิบปี และมีวาระการดำรงตำแหน่งตลอดชีพ<ref>Palmore, E. B. (1999). Ageism: negative and positive (2nd ed., p. 39). New York: Springer Pub.</ref>