ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กีฬาเฟสปิก 1999"

เพิ่มขึ้น 1,092 ไบต์ ,  1 ปีที่แล้ว
 
== สนามแข่งขัน ==
 
* [[สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต|สนามกีฬามหาวิทยาลัยรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต]] (สนามกีฬาหลัก)
*=== [[ราชมังคลาสนามกีฬาสถาน]]หลัก ===
 
==== ธรรมศาสตร์ รังสิต ====
 
* [[สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต|สนามกีฬามหาวิทยาลัยรรมศาสตร์ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต]] (สนามกีฬาหลักพิธีเปิด-ปิด, กรีฑา, ฟุตบอล)
* ยิมเนเซี่ยม 1 (วีลแชร์ บาสเก็ตบอล, บอคเซีย, ยกน้ำหนัก)
* ยิมเนเซี่ยม 2 (แบตมินตัน)
* ยิมเนเซี่ยม 3 (วอลเลย์บอลนั่ง)
* ยิมเนเซี่ยม 4 (ฟันดาบ)
* ยิมเนเซี่ยม 5 (เทเบิลเทนนิส)
* ยิมเนเซี่ยม 6 (โกลบอล)
* ยิมเนเซี่ยม 7 (ยูโด)
* ลาน 2 (ยิงธนู)
* สนามเทนนิส (วีลแชร์ เทนนิส)
* ศูนย์กีฬาทางน้ำ (กีฬาทางน้ำ)
* หมู่บ้านนักกีฬา
* ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (IBC)
* ศูนย์สื่อมวลชน (MPC)
 
==== หัวหมาก ====
 
* สนามยิงปืน (ยิงปืน)
 
== พิธีเปิด - ปิดการแข่งขัน ==
 
=== การแสดงพิธีเปิด ===
ในการแสดงพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 7 ได้สานต่อแนวคิดจาก คำขวัญของการแข่งขันคือ "ความเสมอภาค เป็นหนึ่งเดียวในโลก" ซึ่งหมายถึงบนโลกนี้มีทั้งผู้พิการและคนที่ร่างการแข็งแรงรวมกัน และหากร่วมกันยินดีให้กับความเสมอภาค ก็จะช่วยสร้างสรรค์ให้โลกนี้ดีขึ้นได้ โดยประสานแนวคิด ความเสมอภาค เข้ากับ วัฒนธรรมไทย ผ่านรูปแบบของ ภาพ, เสียง และ ภาษาที่ต้องการจะสื่อสารให้คนทุกชาติและคนพิการเข้าใจเป็นหนึ่งเดียวกัน ผ่านการแสดงทั้งหมด 5 องก์ คือ<ref name=":0">https://web.archive.org/web/20000611000537/http://fespic.iirt.net/eng/open.htm</ref>
 
* องก์ที่ 1 - Spirit of Thailand (ใช้ผู้แสดง 1,500 คน)
 
=== การแสดงพิธีปิด ===
ในการแสดงพิธีปิดการแข่งขันกีฬาเฟสปิกเกมส์ ครั้งที่ 7 ธีมสำคัญในส่วนนี้คือ "การส่งต่อความเสมอภาคอันเป็นหนึ่งเดียวในโลกนี้ให้เป็นนิรันดร์" ผ่านมหกรรมการแสดงแสง สี เสียง ทั้งหมด 5 องก์ คือ<ref name=":0" />
 
* องก์ที่ 1 - ไชโย เชียร์โร
5,272

การแก้ไข