ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองพระโขนง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
==ประวัติ==
[[ไฟล์:That Bunnak.jpg|thumb|[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]] ผู้ดำเนินการขุดคลองพระโขนง]]
แต่เดิมเป็นคลองธรรมชาติลักษณะคดเคี้ยว ปากคลองพระโขนงเป็นที่ตั้งของเมือง[[พระประแดง]]เดิม บริเวณนั้นแต่เดิมเป็นที่ตั้งวัดหน้าพระธาตุหรือวัดมหาธาตุ (ภายหลังผาติกรรมเพื่อสร้าง[[ท่าเรือกรุงเทพ|ท่าเรือคลองเตย]]เมื่อ พ.ศ. 2480) มีชุมชนขนาดใหญ่เนื่องจากมีวัดพระธาตุประจำเมือง<ref>{{cite web |author1=วลัยลักษณ์ ทรงศิริ |title=จากปากน้ำถึงสมุทรปราการ เมืองหน้าด่านชายทะเล |url=https://lek-prapai.org/home/view.php?id=810 |publisher=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์}}</ref>

ต่อมาในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้ขุดเชื่อม[[คลองหนองบอน]]กับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ความยาวประมาณ 10 กิโลเมตร เมื่อปี พ.ศ. 2380 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2383 ผู้ดำเนินการขุดคือ [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]]<ref>{{cite web |title=คลองขุดในประเทศไทย |url=https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=33&chap=3&page=t33-3-infodetail03.html |publisher=สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ}}</ref> ภายหลังการขุดคลอง ได้อพยพชาวมลายูจากปัตตานีเข้ามาอยู่อาศัยบริเวณฝั่งคลอง กลุ่มคนที่กวาดต้อนมาเพื่อเป็นแรงงานในการเพาะปลูกเข้าเพื่อส่งเป็นเสบียงให้กองทัพ<ref>{{cite web |author1=พิมพ์อุมา โตสินธพ |title=คลองเชื่อมกับพัฒนาการของชุมชนในลุ่มแม่น้ำบางปะกง ระหว่าง พ.ศ. 2420-2500 |url=http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/8899/Fulltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y |publisher=มหาวิทยาลัยศิลปากร}}</ref>
 
เมื่อ พ.ศ. 2400 ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีการขุดคลองถนนตรง (ถนนพระรามที่ 4 ในปัจจุบัน) เชื่อมต่อบางนากับ[[คลองผดุงกรุงเกษม]] โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้[[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)]] จ้างจีนขุดคลองพระโขนงออกไปทะลุถึงแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นคลองกว้าง 6 วา ลึก 6 ศอก ยาว 207 เส้น 2 วา 3 ศอก<ref>{{cite web |title=พระราชทานที่ให้ชาวต่างประเทศตั้งห้างและขุดคลองถนนตรง |url=https://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%94/%E0%B9%95%E0%B9%97-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87}}</ref> บริเวณคลองพระโขนงเกิดเป็นตลาดริมน้ำ เกิดเรือนแถวไม้ตั้งอยู่ริมน้ำตลอดแนวคลองจนสุดทางที่โรงน้ำแข็ง<ref name="พรนภา">{{cite web |author1=พรนภา พรพันธุ์ไพบูลย์ |title=การฟื้นฟูย่านตลาดพระโขนง |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/16059/1/Pornnapa_Po.pdf |publisher=จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์}}</ref>