ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2496–2513)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
Shoshui ย้ายหน้า ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513) ไปยัง ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2496–2513): ยึดตามข้อมูลวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{โปร}}
{{สากล}}
{{ระวังสับสน|ราชอาณาจักรกัมพูชา}}
บรรทัด 13:
|event_start = ได้รับเอกราช
|date_start = 9 พฤศจิกายน
|year_start = พ.ศ. 24972496
|event_end = [[รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513|การปลดพระ นโรดม สีหนุ]]
|date_end = 18 มีนาคม
บรรทัด 56:
{{ประวัติศาสตร์กัมพูชา}}
 
'''ราชอาณาจักรกัมพูชา''' ในช่วง พ.ศ. 24972496 - 2513 เป็นการบริหารประเทศในช่วงแรกของสมเด็จพระ'''[[นโรดม สีหนุ]]''' ตั้งแต่[[กัมพูชา]]ได้รับเอกราชจาก[[ฝรั่งเศส]] ในช่วงแรกพระองค์ทรงเป็นประมุขของประเทศในฐานะพระมหากษัตริย์ ต่อมาทรงสละราชสมบัติมาเล่นการเมือง จัดตั้ง[[พรรคสังคมราษฎร์นิยม]] ซึ่งประวัติศาสตร์กัมพูชาในช่วงนี้มักถูกเรียกว่า '''สมัยสังคมราษฎร์นิยม''' ('''សម័យសង្គមរាស្ត្រនិយម''') หรือ '''กัมพูชาภายใต้การปกครองของพระสีหนุ''' อันเนื่องมาจากเป็นยุคที่พระนโรดม สีหนุได้ทรงรวมทั้งตำแหน่งพระมหากษัตริย์และผู้นำรัฐบาลในคราวเดียวกัน
 
ภายใต้การบริหารประเทศของพระนโรดม สีหนุ ถือเป็นยุคที่กัมพูชาเจริญรุ่งเรืองในทุกๆด้านและชาวกัมพูชาถือเป็นยุคทองยุคหนึ่งของชาวกัมพูชา
 
แม้ปกครองของสมเด็จนโรดมสีหนุคือยุคสมัยอันรุ่งเรืองแต่ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งแนวทางนโยบายช่วงแรกนั้น พระองค์ทรงนิยมตะวันตก ต่อต้าน[[คอมมิวนิสต์]]และ[[เวียดนาม]] และดำเนินนโยบายที่ไม่เป็นมิตรกับ[[ไทย]] ทั้งกรณีพิพาทเรื่อง[[ปราสาทเขาพระวิหาร]] และการกวาดล้างชาว[[ไทยเกาะกง]]ใน[[จังหวัดเกาะกง]] ภายหลังทรงหันไปเป็นมิตรกับ[[จีน]]และ[[เกาหลีเหนือ]]มากขึ้น จนถูกรัฐประหาร โดยจอมพล'''[[ลน นล]]''' เมื่อ พ.ศ. 2513 ซึ่งเป็นที่รู้จักใน'''[[รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513|การรัฐประหารปี พ.ศ. 2513]]''' ทำให้พระราชอาณาจักรกัมพูชาภายใต้ระบอบสังคมราษฎร์นิยมของพระนโรดม สีหนุต้องสิ้นสุดลงและได้มีการเปลี่ยนประเทศเป็นสาธารณรัฐ โดยจัดตั้งรัฐบาล'''[[สาธารณรัฐเขมร]]'''ขึ้นแทน ส่วนพระนโรดม สีหนุต้องเสด็จลี้ภัยไปจัดตั้ง[[รัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชาพลัดถิ่น]] ที่กรุง[[ปักกิ่ง]] [[ประเทศจีน]]
 
==เอกราช การประชุมเจนีวาและการรุกรานของเวียดมิญ==
 
 
หลังจากการรณรงค์ในการเรียกร้องเอกราชอย่างสมบูรณ์ของกัมพูชาในช่วง พ.ศ. 2496 ได้ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม
ฝรั่งเศสตัดสินใจยินยอมให้เอกราชแก่กัมพูชา แม้ว่ากัมพูชาจะได้รับเอกราชตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2496 แต่สถานะทางการทหารยังไม่มั่นคง กลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ของ[[เขมรอิสระ]]เข้าร่วมกับรัฐบาล แต่กลุ่มที่นิยม[[เวียดมิญ]]และ[[สมาคมเขมรอิสระ]]ได้เพิ่มการต่อต้านมากขึ้น แม้ว่ากองทัพ[[สหภาพฝรั่งเศส]]จะพยายามปราบปราม ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2497 กองทัพเวียดมิญได้บุกข้ามชายแดนเข้ามายังกัมพูชา กลุ่มที่นิยมราชวงศ์พยายามต่อต้านแต่ไม่สามารถบังคับให้ทหารเวียดมิญออกไปได้ทั้งหมด กลุ่มคอมมิวนิสต์ได้พยายามสร้างข้อต่อรองก่อนที่จะเข้าร่วมการประชุมเจนีวาที่จะเริ่มในปลายเดือนเมษายนของปีนั้น
เส้น 85 ⟶ 83:
[[ไฟล์:Sinn Sisamouth.jpg|thumb|150px|left|[[สิน ศรีสมุทร]]]]
== การสนับสนุนการศึกษา ==
[[ไฟล์:มหาวิทยาลัยสังคมราษฎรนิยม.jpg|right|150px|thumb|
อาคารเรียนของมหาวิทยาลัยสังคมราษฎรนิยมซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็น[[มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ]]ในสมัยการปกครองของพระสีหนุ]]
[[ไฟล์:The Duty of the Royal Cambodian is to Defend Your Family - NARA - 5729939.jpg|thumb|180px|right|''ปกป้องชาติพันธุ์สายเลือด[[ชาวเขมร|เขมร]]'' โฆษณาชวนเชื่อ[[พรรคสังคมราษฎร์นิยม]]ที่มีแนวคิด[[เชื้อชาตินิยม]]อย่างรุนแรง]]