ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45:
นายประเสริฐ ทราบล่วงหน้าดีว่าจะเกิดเหตุการณ์รุกรานจากพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ด้วยความห่วงใยบ้านเกิด จึงขอเดินทางกลับเมืองไทยเพื่อจะได้มาแก้ปัญหาของชาติไม่ให้ถูกพรรคคอมมิวนิสต์รุกราน เมื่อ พ.ศ. 2501 และถูกจับในข้อหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ ในสมัยรัฐบาลจอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] และจอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ถูกคุมขังอยู่เป็นเวลา 6 ปี ในระหว่างถูกคุมขังได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับการปฏิวัติไทยโดยสันติตาม[[ระบอบประชาธิปไตย]]ที่สมบูรณ์ ตลอดจนยุทธศาสตร์และยุทธวิธีในการต่อสู้เอาชนะ[[คอมมิวนิสต์]] ต่อพนักงานสอบสวน ซึ่งเป็นแนวทางที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เห็นด้วย และมีคำสั่งให้ยกฟ้อง จากนั้นนายประเสริฐได้มีโอกาสเป็นที่ปรึกษาทางการเมือง ได้รับเชิญให้แสดงปาฐกแก่นักศึกษา[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]หลายครั้ง
 
== ก่อตั้งพรรคแรงงานประชาธิปไตย ==
นายประเสริฐได้สนับสนุนให้ก่อตั้งศูนย์กรรมกรแห่งประเทศไทยขึ้น ผลักดันให้มีการประกาศใช้กฎหมายแรงงาน เมื่อปี พ.ศ. 2515 ส่งผลเกิด[[สหภาพแรงงาน]]ที่ถูกต้องตามกฎหมายขึ้นในประเทศไทย พ.ศ. 2517 ได้ร่วมเป็นผู้ก่อตั้ง[[พรรคแรงงาน (ประเทศไทย พ.ศ. 2517)|พรรคแรงงาน]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/D/193/1.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจดทะเบียนพรรคการเมือง]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 92 ตอนพิเศษที่ 193ง หน้า 290 วันที่ 18 กันยายน 2518</ref> ซึ่งต่อมาพรรคนี้ถูกยุบไป และได้จัดตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ในชื่อ[[พรรคแรงงานประชาธิปไตย]] เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2525 ซึ่งต่อมาเขารับตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรค <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2529/A/097/27.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การยอมรับการเปลี่ยนแปลงของพรรคแรงงานประชาธิปไตย ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2524 (ให้นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เป็นหัวหน้าพรรค แทนนายเสรี สุชาตะประคัลภ์)]</ref>
 
== คำสั่ง 66/2523 ==