ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐเมืองพาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มประวัติ
บรรทัด 30:
}}
 
'''เมืองปั่น''' ({{lang-my|မိုင်းပန်}}; {{lang-shn|မိူင်းပၼ်ႇ}}) หรือเอกสารไทยเรียก '''เมืองพาน''' เป็น[[รัฐมหาราชา|รัฐเจ้าฟ้า]]แห่งหนึ่งในกลุ่ม[[สหพันธรัฐชาน]] มีราชธานีคือ[[เมืองปั่น]] ตั้งอยู่กลางที่ราบอันอุดมสมบูรณ์ รอบนอกเมืองหลวงรายล้อมด้วยภูเขาสูงที่เต็มไปด้วยป่า[[สัก]] และมี[[ดอยขี้เหล็ก]]เป็นภูเขาสูงที่สุด<ref name="IGI">[https://dsal.uchicago.edu/reference/gazetteer/pager.html?objectid=DS405.1.I34_V17_413.gif Imperial Gazetteer of India, v. 17, p. 407]</ref> ปัจจุบันอดีตรัฐเมืองพานตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ[[รัฐชาน]]ในเขต[[ประเทศพม่า]]<ref name=EB1911>{{cite EB1911 |wstitle=Mōng Pan |volume=18 |page=722}}</ref>
 
== ประวัติ ==
=== ช่วงต้นและรัฐในอารักขา ===
รัฐเมืองปั่นก่อตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2180<ref name="IGI"/> มีราชธานีอยู่ที่[[เมืองปั่น]] ตั้งอยู่ทางตะวันตกของ[[แม่น้ำสาละวิน]] ส่วนเขตการปกครองทั้งหมดสี่อำเภอเมือง ได้แก่ เมืองต่วน/โต๋น (Mongton) เมืองหาง (Monghang) เมืองจ้วดจวด/จวาด/ชวาด (Mongkyawt) และเมืองต้าทา (Monghta) ซึ่งเดิมเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรล้านนา]] ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน<ref name=EB1911/> มีเจ้าฟ้าเป็นผู้ปกครอง ใช้พระนามว่า ''กัมโพชมหาวงศาวังสะ ธีรธัมมราชาสิริธรรมราชา'' (ကမ္ဘောဇမဟာဝံသသီရိဓမ္မရာဇာ Kambawsa Mahawuntha Thirdamaraza)<ref>{{cite web|url=http://www.worldstatesmen.org/Myanmar_shankaren.html|title=World Statesmen.org: Shan and Karenni States of Burma|author=Ben Cahoon|year=2000|accessdate=7 July 2014}}</ref> ซึ่ง[[สหราชอาณาจักร]]มองว่าเป็นเขตปกครองของเจ้าฟ้า แต่ทาง[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์|สยาม]]อ้างสิทธิเหนือดินแดนแถบนี้มาตลอด พ.ศ. 2321 [[นครเชียงใหม่]]ทำการโจมตีและกวาดต้อนผู้คนของเมืองปั่นและเมืองตองกาย<ref>{{cite book | author = รัตนาพร เศรษฐกุล, รองศาสตราจารย์ ดร. | title = ศึกเชียงตุง : การเปิดแนวรบเหนือสุดแดนสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | url = http://km-ir.arts.tu.ac.th/files/original/9cbafc5dca5104c7cc55b6df8e25049e7e2b035a.pdf | publisher = [[มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นอิลลินอยส์|Northern Illinois University]] | location =| year = 2556 | page = 16}}</ref> ต่อมาใน พ.ศ. 2431 รัฐบาลสยามส่งทหารมาประจำการในสี่อำเภอติดแม่น้ำสาละวินด้านตะวันออก และอ้างสิทธิเหนือ[[อำเภอเมืองสาต]]แต่ไม่ได้ตั้งกองทหารรักษาการ<ref>[http://www.gutenberg.org/files/45915/45915-h/45915-h.htm The Pacification of Burma, by Sir Charles Haukes Todd Crosthwaite]</ref>
 
พ.ศ. 2005 [[พระเจ้าติโลกราช]] กษัตริย์ล้านนา ได้ยกทัพมาตี[[เมืองนาย]]และหัวเมืองไทใหญ่ ต่อมาใน พ.ศ. 2013 พระเจ้าติโลกราชกับแม่ท้าวหอมุกเสด็จมาเมืองปั่น เมืองนาย เงินป่องฟ้าเจ้าเมืองนาย ให้ลูกนำเครื่องบรรณาการมาถวาย หมื่นบุญเรือง เจ้าเมืองเชียงรายได้เสียชีวิตในระหว่างที่ตามเสด็จ ดังตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า
พ.ศ. 2432 มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนแองโกล-สยาม พ.ศ. 2432–2433 เพื่อแก้ปัญหาเขตแดนของ[[รัฐหมอกไหม่]] (ดอกไม้) รัฐเมืองปั่น (เมืองพาน) และ[[กลุ่มรัฐกะเหรี่ยงแดง]] ซึ่งเป็นรัฐในแถบลุ่มน้ำสาละวิน แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะทางสยามไม่ตกลงด้วย ด้วยเหตุนี้ทางสหราชอาณาจักรจึงรวบเขตแดนรัฐขนาดน้อยเหล่านี้เข้ากับ[[พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร|อาณานิคมพม่าของบริติช]] ทางสหราชอาณาจักรจึงให้สยามถอนกองกำลังทหารออกจากแถบลุ่มน้ำสาละวิน และจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนแองโกล-สยาม พ.ศ. 2435–2436 ขึ้นเพื่อหาข้อตกลงครั้งใหม่ร่วมกันกับสยาม<ref>[https://dsal.uchicago.edu/reference/gazetteer/text.html?objectid=DS405.1.I34_V22_260.gif Imperial Gazetteer of India, v. 22, p. 254.]</ref>
{{คำพูด|ในปลีกดยี สกราช ๘๓๒ ตัว พระเปนเจ้ากับแม่ท้าวหอมุกไพเมืองปั่นเมืองนายเล่า เจ้าเมืองนายชื่อเงินปล่องฟ้าหื้อลูกมันมาไหว้พระเปนเจ้าแลถวายปัณณาการ หมื่นบุญเรืองผู้กินเมืองเชียงรายได้ไพตายเสียยังเมืองเยี้ยวปางนั้นแล|ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่}}<ref>ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๒๕๓๘.</ref>
 
 
พ.ศ. 2502 หมื่นจ่าบ้านล้องนำกองทัพมาตีเมืองปั่น แต่ไม่สามารถตีเมืองปั่นได้และเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับเมืองปั่น
{{คำพูด|สกราช ๘๗๑ ตัว จ่าบ้านล้องได้เปนขุนหมื่น ทือพลไพรบเยี้ยวเมืองปั่น จักปล่นเอาเมือง บ่ได้ พ่ายแก่เยี้ยว|ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่}}<ref>ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๒๕๓๘.</ref>
 
พ.ศ. 2321 [[พระเจ้ากาวิละ|เจ้ากาวิละ]] ให้เจ้ารัตนหัวเมืองแก้ว ([[พระยาคำฟั่น]]) ทำการโจมตีเมืองปั่น ได้ตัวเจ้าฟ้าหน่อคำและกวาดต้อนผู้คนของเมืองปั่นและตองกายลงมาเมืองลำปาง เมืองป่าซาง ดังตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า
{{คำพูด|เถิงสกราช ๑๑๔๘ ตัว ปลีรวายสะง้า... ...เถิงเดือน ๘ ออก ๒ ฅ่ำ วัน ๕ พระเปนเจ้าแต่งเจ้ารัตตนะหัวเมืองแก้วพระราชชะวังหลัง คุมริพล ๕๐๐ ขึ้นไปยุทธกัมม์เอาเมืองปั่น คราวทาง ๒๕ วัน เข้าครอบงำเอาได้เจ้าฟ้าหน่อฅำและลูกเมียครอบครัว แลกวาดเอาเมืองปั่นเมืองตองคายลงมาใส่บ้านเมือง|ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่}}<ref>ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๒๕๓๘.</ref><ref>{{cite book | author = รัตนาพร เศรษฐกุล, รองศาสตราจารย์ ดร. | title = ศึกเชียงตุง : การเปิดแนวรบเหนือสุดแดนสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | url = http://km-ir.arts.tu.ac.th/files/original/9cbafc5dca5104c7cc55b6df8e25049e7e2b035a.pdf | publisher = [[มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นอิลลินอยส์|Northern Illinois University]] | location =| year = 2556 | page = 16}}</ref>
 
พ.ศ. 2361 พระยาธรรมลังกา ให้เจ้าสุวรรณคำมูลยกทัพไปตีเมืองปั่น กวาดต้อนชาวเมืองปั่นลงมาเมืองเชียงใหม่ ดังตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ว่า
{{คำพูด|ในสกราช ๑๑๘๐ ตัว ปลีเปิกยี เดือน ๔ ออก ๖ ฅ่ำ วัน ๖ พระเปนเจ้าช้างเผือกแต่งเจ้าสุวัณณะฅำมูลตนเปนหลาน คุมริพลพันฅน ยกไปตีเมืองปั่น ได้อุพพยุครอบครัวมาใส่บ้านเมืองครั้งนึ่ง|ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่}}<ref>ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๒๕๓๘.</ref>
 
ต่อมาใน พ.ศ. 2431 รัฐบาลสยามส่งทหารมาประจำการในสี่หัวเมืองติดแม่น้ำสาละวินด้านตะวันออก และอ้างสิทธิเหนือ[[เมืองสาด]]แต่ไม่ได้ตั้งกองทหารรักษาการ<ref>[http://www.gutenberg.org/files/45915/45915-h/45915-h.htm The Pacification of Burma, by Sir Charles Haukes Todd Crosthwaite]</ref>
 
พ.ศ. 2432 มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนแองโกล-สยาม พ.ศ. 2432–2433 เพื่อแก้ปัญหาเขตแดนของ[[รัฐหมอกไหม่ใหม่]] (ดอกไม้) รัฐเมืองปั่น (เมืองพาน) และ[[กลุ่มรัฐกะเหรี่ยงแดง]] ซึ่งเป็นรัฐในแถบลุ่มน้ำสาละวิน แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะทางสยามไม่ตกลงด้วย ด้วยเหตุนี้ทางสหราชอาณาจักรจึงรวบเขตแดนรัฐขนาดน้อยเหล่านี้เข้ากับ[[พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร|อาณานิคมพม่าของบริติช]] ทางสหราชอาณาจักรจึงให้สยามถอนกองกำลังทหารออกจากแถบลุ่มน้ำสาละวิน และจัดตั้งคณะกรรมาธิการเขตแดนแองโกล-สยาม พ.ศ. 2435–2436 ขึ้นเพื่อหาข้อตกลงครั้งใหม่ร่วมกันกับสยาม<ref>[https://dsal.uchicago.edu/reference/gazetteer/text.html?objectid=DS405.1.I34_V22_260.gif Imperial Gazetteer of India, v. 22, p. 254.]</ref>
 
=== อำเภอเมืองพานของไทย ===