ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำวิเศษณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 3:
'''คำวิเศษณ์''' หรือ '''คำคุณศัพท์''' คือ[[คำ]]ที่ทำหน้าที่ขยาย[[คำนาม]] [[คำสรรพนาม]] [[คำกริยา]] หรือคำวิเศษณ์ด้วยกัน เพื่อให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น
 
ในภาษาไทย คำวิเศษณ์สามารถใช้ขยายได้ทั้งนาม สรรพนาม กริยา และวิเศษณ์ ในขณะที่ใน[[ภาษาอังกฤษ]]จะแยกคำวิเศษณ์ออกเป็นสองประเภทคือ '''คำคุณศัพท์''' (adjective) ใช้ขยายได้เฉพาะคำนามและสรรพนามเท่านั้น และ[[คำกริยาวิเศษณ์]] (adverbadverbs) ใช้ขยายกริยา คุณศัพท์ และกริยาวิเศษณ์ด้วยกัน
 
== ชนิดของคำวิเศษณ์ ==
คำวิเศษณ์ในภาษาไทยมี 10 ชนิดดังนี้ เช่น
 
1. ''ลักษณวิเศษณ์'' คือ คำวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่าง ๆ เช่น
*บอกชนิดสี เช่น เหลือง แดง ส้ม เขียว ฟ้า
*บอกขนาด เช่น ใหญ่ เล็ก
*บอกสัณฐาน เช่น กลม แบน
*บอกกลิ่น เช่น หอม เหม็น
*บอกรส เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม ขม
*บอกความรู้สึก เช่น ร้อน เย็น เป็นต้น เช่น น้ำร้อนอยู่ในกระติกสีขาว หรือ จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก
 
บรรทัด 34:
10. ''ประติชญาวิเศษณ์'' ปฏิญญาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็นต้น เช่น คุณครับมีคนมาหาขอรับ หรือ คุณครูขา สวัสดีค่ะ/ครับ
 
== อ้างอิงจาก ==
* กำชัย ทองหล่อ, '''หลักภาษาไทย''', กรุงเทพฯ :บำรุงสาส์น, 2533.
* นำข้อมูลมาจาก http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/thai04/34/workgroup/p13.htm {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120823033121/http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/thai04/34/workgroup/p13.htm |date=2012-08-23 }} ภายใต้ CC-BY-NC-SA
บรรทัด 43:
 
[[หมวดหมู่:ชนิดของคำ]]
{{DEFAULTSORT:คำวิเศษณ์..}}