ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kajitto (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์|name=พระวรราชปิตา|สีพิเศษ=#ffcc00|สีอักษร=#8f5f12|ภาพ=ไฟล์:เจ้าพระตา.jpg|พระนามาภิไธย=|พระปรมาภิไธย=พระวรราชปิตา|ประสูติ= พ.ศ. 2236|วันพิราลัย=[[พ.ศ. 2314]]|พระอิสริยยศ=เจ้าผู้ครองนคร|พระบิดา=เจ้าอุปราชนอง|พระมารดา=พระราชนัดดาของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช|พระมเหสี=พระนางบุศดีเทวี|พระราชโอรส และพระราชธิดา=10 พระองค์|ราชวงศ์=[[ราชวงศ์สุวรรณปางคำ|แสนทิพย์นาบัว]]|ทรงราชย์=พ.ศ. 2311|พิธีบรมราชาภิเษก=|ระยะเวลาครองราชย์=3 ปี|รัชกาลก่อนหน้า=[[เจ้าปางคำ|เจ้านอง]]|รัชกาลถัดมา=[[เจ้าพระวอ|พระวรราชภักดี]]}}
'''เจ้าพระตา หรือ พระวรราชปิตา''' (พ.ศ. 2236-2314) เป็นเจ้าผู้ครอง[[นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน]] ([[หนองบัวลำภู]]) พระองค์ที่ 2 ([[พ.ศ. 2311|พ.ศ. 2311]]-[[พ.ศ. 2314|พ.ศ. 2314]]) เป็นพระราชโอรสในเจ้าอุปราชนอง ([[เจ้าปางคำ|เจ้านอง]]) ปฐมผู้ปกครองเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน อันสืบมาแต่สาย[[ราชวงศ์สุวรรณปางคำ|ราชวงศ์แสนทิพย์นาบัว]] สืบมาเเต่แต่วงศ์สามัญชนเชื้อสายไทพวน เป็นพระบิดา[[พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช|พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช]] [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว|พระประเทศราชผู้ครองนครจำปาศักดิ์]] องค์ที่ 3 และเป็นพระราชบิดา[[เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)|พระประทุมวรราชสุริยวงศ์]] พระประเทศราชผู้ครองเมือง[[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานีศรีวนาไลยประเทศราช]] องค์ที่ 1
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 19:
== ศึกชิงราชบัลลังก์นครเวียงจันทน์ ==
 
ในปี พ.ศ. 2238 พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชสวรรคต ไม่มีผู้สืบราชสมบัติอย่างชัดเจน มีแต่พระราชนัดดาที่ทรงพระเยาว์ ทำให้เกิดความปั่นป่วนและศึกแย่งชิงเชื้อพระวงศ์มาเป็นพวกตน บางพระองค์ได้หลบหนีออกนอกราชอาณาจักร การแย่งชิงราชสมบัติหลังการสวรรคตของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชจึงเป็นชนวนเหตุการนำไปสู่การแบ่งแยกอาณาจักรล้านช้างอันเข้มแข็ง และยิ่งใหญ่ ออกเป็น 3 อาณาจักรเล็กอันอ่อนแอในที่สุด และพระยาเมืองแสนอัครมหาเสนาบดี ได้เข้ายึดราชบัลลังก์พร้อมสถาปนาตนขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์อาณาจักรล้านช้าง พระองค์ที่ 33 พระนามว่า "พระยาจันทสีหราช (เมืองแสน)" ขณะนั้นเจ้าองค์บุญ พระราชโอรสของ[[เจ้าองค์ลอง]] และเป็นหลานของ[[พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2]] (พระเจ้าไชยองค์เว้) จึงได้หนีราชภัยสงครามมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารเจ้าอุปราชนองผู้เป็นญาติใกล้ชิด เนื่องจากเจ้าอุปราชนองเป็นพระอนุชาร่วมมารดากับเจ้าไชยองค์เว้ เเต่แต่ต่างบิดา โดยที่เจ้าไชยองค์เว้มีเชื้อสายกษัตริย์ลาวทางพระราชบิดาจากเจ้าชมพู ส่วนเจ้าอุปราชนองเป็นเพียงสามัญชนที่สืบเชื้อสายมาจากบิดาชาวไทพวน เมื่อเจ้าองค์บุญที่หนองบัวลุ่มภู เจ้าอุปราชนองทรงชุบเลี้ยงเจ้าองค์บุญเยี้ยงพระราชโอรสของพระองค์
 
ในปี พ.ศ. 2273 พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (พระเจ้าไชยองค์เว้) เสด็จสวรรคต เจ้าองค์ลองซึ่งเป็นพระราชโอรสจึงเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ พระองค์ที่ 2 ซึ่งมีพระราชโอรสคือ เจ้าองค์บุญ อาศัยอยู่ที่หนองบัวลุ่มภู และในปี พ.ศ. 2283 เจ้าองค์ลองสวรรคต [[เจ้าอุปราชนอง]] พระบิดาของพระวอ-พระตา ยึดอำนาจจากเจ้าองค์ลองเเละและสำเร็จโทษ เเล้วเเต่งตั้งแล้วแต่งตั้งตนเองขึ้นพระมหากษัตริย์อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ พระองค์ที่ 3 เเต่แต่เนื่องจากอุปราชนองเป็นเพียงสามัญชนไม่มีเชื้อสายกษัตริย์จึงไม่เป็นที่ยอมรับจากขุนนาง ตำเเหน่งตำแหน่งจึงคงไว้เเค่เพียงแค่เพียง ''เจ้าอุปราช''
 
ปี พ.ศ. 2294 เจ้าองค์บุญมีความประสงค์จะได้ราชบัลลังก์นครเวียงจันทน์โดยอ้างสิทธิเป็นพระราชโอรสของเจ้าองค์ลอง และพระราชนัดดาของพระเจ้าไชยองค์เว้ ซึ่งพระตา และพระวอ จึงได้ยกกองกำลังร่วมต่อต้านพระบิดาของตน หนองบัวลุ่มภูเข้าช่วงชิงราชบัลลังก์จากเจ้าอุปราชนอง พระมหากษัตริย์อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ พระองค์ที่ 3 จนสำเร็จ แล้วปราบดาภิเษกเจ้าองค์บุญขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ พระองค์ที่ 4 พระนามว่า [[พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3]] หรือ พระเจ้าสิริบุญสาร และพระเจ้าสิริบุญสารได้ให้พระตา และพระวอดูแลรักษาบ้านหินโงมอีกด้วย แต่หาได้เป็นเสนาบดีในราชสำนักนครเวียงจันทน์ไม่ ดังปรากฏในพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาณของหม่อมอมรวงษ์วิจิตร ความว่า ''"จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุญนพศก พระเจ้าองค์หล่อผู้ครองกรุงศรีสัตนาคนหุตถึงแก่พิราไลย หามีโอรสที่จะสืบตระกูลไม่ แสนท้าวพระยาแลนายวอ นายตา จึ่งได้พร้อมกันเชิญกุมารสองคน ซึ่งเปนเชื้อวงษ์พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตคนเก่า อันได้หนีไปอยู่กับนายวอ นายตา เมื่อพระเจ้าองค์หล่อยกกำลังมาจับพระยาเมืองแสนฆ่านั้น ขึ้นครองกรุงศรีสัตนาคนหุต "''
บรรทัด 31:
 
== ครองเมือง ==
ปี พ.ศ. 2283 เมื่อพระตามาถึงหนองบัวลุ่มภู ก็ขึ้นครองเมืองเป็นเจ้าผู้ครองเมืองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน พระองค์ที่ 2 เเทนแทนพระบิดา พระนามว่า '''"พระวรราชปิตา"''' ตั้งให้พระวอ ผู้เป็นพระอนุชา เป็นที่อุปราช บูรณะปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม แลค่ายคูประตูกำแพงเมืองอย่างแน่นหนาถาวร มีกองกำลังทหารเข้มแข็ง แลมีช้างเผือกคู่เวียง ปกครองนครด้วยธรรมใส่ใจทุกข์สุขไพร่ฟ้าราษฎรอยู่ร่มเย็นเป็นสุข ให้ท้าวผ้าขาวพากลุ่มไพร่พลกองครัว ประมาณ 5,000 คน ไปตั้งถิ่นฐานบริเวณบ้านผ้าขาว บ้านพันนา ยกขึ้นเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศตะวันออกของหนองบัวลุ่มภู (ปัจจุบันคือพื้นที่ของ[[จังหวัดสกลนคร]]) ท้าวนามไปปกครองอยู่ที่[[อำเภอภูเวียง|เมืองภูเวียง]]เป็นเมืองหน้าด่านทางทิศใต้ และตั้งเมืองนาด้วงเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศตะวันตก ประมาณในปี พ.ศ. 2310 หลังจากประมาณสิบกว่าปีที่พระวอพระตาได้ช่วยพระเจ้าเเผ่นดินแผ่นดินลาวเวียงจันทน์ ทางฝ่ายพระเจ้าสิริบุญสาร เห็นว่า พระวรราชปิตาแห่งเมืองหนองบัวลุ่มภูสะสมกำลังไพร่พลจำนวนมาก และมีความเข้มแข็ง เกรงจะคิดกบฎต่อพระราชบัลลังก์ จึงให้พระยาเมืองแสน พระยาเมืองจันทร์ยกทัพมาตีหนองบัวลุ่มภู ใช้เวลาอยู่ 3 ปี แต่ยังไม่สามารถตีหนองบัวลุ่มภูแตกได้
 
== สงครามนครเวียงจันทน์ ==