ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94:
}}
 
'''การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน''' ({{lang-en|Tiananmen Square protests}}) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในจีนแผ่นดินใหญ่ว่า '''เหตุการณ์ 4 มิถุนายน''' ({{lang-en|June Fourth Incident}}; {{zh-all|s=六四事件|p=liùsì shìjiàn}}) เป็นการเดินขบวนที่มีนักศึกษาเป็นหัวหน้า จัดใน[[จัตุรัสเทียนอันเหมิน]]ในกรุง[[ปักกิ่ง]]ระหว่างปี 2532 ขบวนการประชาชนระดับชาติได้รับบันดาลใจจากผู้ประท้วงกรุงปักกิ่ง บ้างเรียก '''ขบวนการประชาธิปไตยปี 89''' ({{zh-all|s=八九民运|p=bājiǔ mínyùn}}) หรือหากเรียกว่า '''การสังหารหมู่ที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน''' ({{lang-en|Tiananmen Square Massacre}}; {{zh|s=天安门大屠杀|p=Tiān'ānmén dà túshā}}) จะหมายถึงเหตุที่[[People's Liberation Army at the 1989 Tiananmen Square protests|ทหารจีน]]ที่ใช้ปืนเล็กยาวและรถถังยิงผู้ประท้วงและผู้พยายามกีดขวางการยาตราเข้าพื้นที่จัตุรัส การประท้วงเริ่มต้นในวันที่ 15 เมษายนและถูกปราบปรามด้วยกำลังในวันที่ 4 มิถุนายนเมื่อรัฐบาลประกาศกฎอัยการศกและส่งกองทัพเข้ายึดครองส่วนกลางของกรุงปักกิ่ง มีเหตุการณ์ที่ทหารถือปืนเล็กยาวจู่โจมและรถถังยิงใส่ผู้ประท้วงและผู้พยายามขัดขวางการรุกของกองทัพเข้าสู่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ซึ่งเรียก การสังหารหมู่จัตุรัสเทียนอันเหมิน มีประมาณยอดผู้เสียชีวิตตั้งแต่หลายร้อยถึงหลายพันคน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกหลายพันคน{{sfn|How Many Died|1990}}{{sfn|U.S. G.P.O.|p=445}}{{sfn|Brook|1998|p=154}}{{sfn|Kristof:Reassessing Casualties}}{{sfn|Secretary of State's}}{{sfn|Calls for Justice |2004}}
 
การประท้วงดัวกล่าวเกิดจากผู้นำคอมมิวนิสต์สายปฏิรูป [[หู ย่าวปัง]] เสียชีวิตในเดือนเมษายน 2532 ท่ามกลางฉากหลังที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วในประเทศจีนหลังยุคเหมา ผู้ประท้วงสะท้อนความวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคตของประเทศในความสำนึกของประชาชนและในหมู่อภิชนทางการเมือง การปฏิรูปในคริสต์ทศวรรษ 1980 นำไปสู่เศรษฐกิจแบบตลาดเพิ่งเริ่มใหม่ที่เอื้อประโยชน์แก่คนบางกลุ่ม แต่ทำให้คนที่เหลือเอาใจออกห่างอย่างรุนแรง และระบบพรรคการเมืองเดียวยังเผชิญกับการท้าทายความชอบธรรม ความเดือดร้อนทั่วไปในเวลานั้นได้แก่เงินเฟ้อ การฉ้อราษฎร์บังหลวง การเตรียมพร้อมบัณฑิตสำหรับเศรษฐกิจใหม่ที่มีจำกัด{{sfn|Brook|1998|p=216}} และการจำกัดการมีส่วนร่วมทางการเมือง นักศึกษายังเรียกร้องให้รัฐบาลมีภาระความรับผิดเพิ่มขึ้น กระบวนการทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย เสรีภาพสื่อ และเสรีภาพในการพูด แม้นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีการจัดตั้งและมีเป้าหมายหลากหลาย ในช่วงที่การประท้วงสูงสุด มีประชาชนประมาณ 1 ล้านคนชุมนุมในจัตุรัส{{sfn|D. Zhao |2001|p=171}}