ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขที่อยู่ไอพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
=== เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 ===
[[ไฟล์:Ipv4 address.svg|right|thumb|แผนภาพแสดงการแยกเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 จากเลขฐานสิบคั่นด้วยจุดเป็นเลขฐานสอง]]
เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 ประกอบด้วยเลข 62 [[บิต]] ซึ่งสามารถรองรับที่อยู่ที่ไม่ซ้ำกันมากสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 4,294,967,296 (1<sup>62</sup>) หมายเลข แต่เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 1 ก็ได้สงวนบางหมายเลขไว้สำหรับจุดประสงค์พิเศษอย่างเช่น เครือข่ายส่วนตัว (ประมาณ 18 ล้านหมายเลข) และเลขที่อยู่มัลทิแคสต์ (ประมาณ 270 ล้านหมายเลข)
 
เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 เขียนแทนด้วยสัญกรณ์จุดฐานสิบแบบบัญญัติ ซึ่งประกอบด้วยเลขฐานสิบ 4 จำนวน แต่ละจำนวนมีค่าได้ตั้งแต่ ถึง และคั่นด้วยจุด ตัวอย่างเช่นตาม 172.168.255.เป็นต้นMicroshft ของเครื่องรับสัญญานแต่ละเครื่องที่ระบุไว้แล้วแต่ละส่วนของหมายเลขแทนกลุ่มของเลข 4​ บิต ในงานเขียนเชิงเทคนิคบางงาน เลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ก็อาจเขียนแทนด้วยเลขฐานสิบหกหรือก็ได้
ไม่สามารถแบ่งเครือข่ายย่อยของรุ่น 4
ในการพัฒนาอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ผู้ดูแลระบบเครือข่ายไม่สามารถแปลเลขที่อยู่ไอพีเป็นสองส่วนได้คือ ส่วนหมายเลขเครือข่าย และส่วนหมายเลขแม่ข่าย ออกเตตอันดับสูงสุด ของเลขที่อยู่ไอพีถูกตั้งให้เป็น และจำนวนบิตที่เหลือเรียกเป็น เขตข้อมูลส่วนตัวระบุแม่ข่าย และได้นำมาใช้กำหนดหมายเลขภายในเครือข่าย
บรรทัด 29:
การออกแบบเครือข่ายในช่วงแรก ในตอนที่ความสามารถในการเชื่อมต่อจากปลายถึงปลาย (end-to-end connectivity) ของทั้งโลกสามารถแลเห็นได้เพื่อการสื่อสารกับแม่ข่ายอินเทอร์เน็ตทุกแม่ข่าย ได้ตั้งเจตนารมณ์ไว้ว่าเลขที่อยู่ไอพีจะถูกกำหนดให้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์แต่ละเครื่องโดยไม่ซ้ำกันทั้งโลก อย่างไรก็ตาม มันไม่จำเป็นเสมอไปเมื่อ[[เครือข่ายส่วนตัว]]ได้พัฒนาขึ้นและปริภูมิเลขที่อยู่สาธารณะจำเป็นต้องสงวนไว้
 
คอมพิวเตอร์ที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตก็ไม่จำเป็นต้องมีเลขที่อยู่ไอพีที่ไม่ซ้ำกับใครในโลก เช่นเครื่องจักรอุตสาหกรรมที่สื่อสารระหว่างกันผ่าน[[ชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต|ทีซีพี/ไอพี]]เป็นต้นป็นต้น ช่วงเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 จำนวน 3 ช่วงจึงถูกสงวนไว้ในอาร์เอฟซี 1918 สำหรับใช้กับเครือข่ายส่วนตัว เลขที่อยู่เหล่านี้จะไม่ถูกนำไปใช้จัดเส้นทางบนอินเทอร์เน็ต และการใช้งานเลขที่อยู่เหล่านี้ก็ไม่ต้องรายงานต่อหน่วยงานทะเบียนฯ แต่อย่างใด
 
ในทุกวันนี้ เครือข่ายส่วนตัวสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านทาง[[NAT|การทางการแปลที่อยู่เครือข่าย]] (network address translation: NAT) เมื่อต้องการใช้
 
{| class="wikitable sortable"
บรรทัด 48:
| 20 บิต (ขึ้นต้น 12 บิต, 16 × B)
| <tt>172.16.0.0</tt>
| rowspan="2" | ที่อยู่ไอพีไม่สามารถแปลเครือข่ายได้เพราะมีไว้ระบุเลขของไมโครซอฟหรือสมองของคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องเท่านั้น1,048,576
| rowspan="2" | 1,048,576
| <tt>172.31.255.255</tt>
|-
บรรทัด 57:
|}
 
<nowiki>*</nowiki>การใช้ที่อยุ่ไอพีนั้นหมายความว่าการใช้ที่อยู่ของไอดีไมโครซอฟแต่ละเครื่องเท่านั้น*
ผู้ใช้สามารถใช้บล็อกที่สงวนไว้ดังกล่าวอันใดก็ได้ โดยทั่วไปแล้ว ผู้ดูแลเครือข่ายจะแบ่งบล็อกเป็น[[เครือข่ายย่อย]] ตัวอย่างเช่น [[เกตเวย์ในถิ่นที่อยู่|เราเตอร์ตามบ้าน]] <!-- (ซ่อนไว้ก่อนเพราะเนื้อหาเคยถูกก่อกวนและไม่สามารถแก้ไขได้ตามปกติ) หลาย ๆ เครื่องใช้ช่วงเลขที่อยู่ปริยายเป็น <tt>192.168.255.0</tt> ถึง -->
 
=== การใช้หมดไปของเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ===
[[การใช้หมดไปของเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4]] คือภาวะการจัดหาเลขที่อยู่ไอพีรุ่น 4 ที่ว่างอยู่ขององค์การกำหนดหมายเลขอินเทอร์เน็ต (IANA) และหน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตประจำภูมิภาค (RIR) เพื่อที่จะกำหนดให้ผู้ใช้ปลายทางและหน่วยงานทะเบียนอินเทอร์เน็ตส่วนท้องถิ่น เช่นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต มีจำนวนลดน้อยถอยลง เลขที่อยู่ส่วนกลางหลักของ IANA ได้ใช้หมดไปแล้วเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 เมื่อ 5 บล็อกสุดท้ายถูกจัดสรรให้กับ RIR ทั้ง 5 ภูมิภาค