ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อานนท์ นำภา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parkquash (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเนื้อหาในส่วนที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดต่อสาธารณชน
Nattayut.L (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| alma_mater = [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
| occupation = ทนายความ
| known_for = การเรียกร้องล้มล้างการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย
| spouse =
| children =
บรรทัด 21:
}}
 
'''อานนท์ นำภา''' (เกิด 18 สิงหาคม พ.ศ. 2527) เป็นทนายความชาวไทย [[นักเคลื่อนไหว]]เพื่อ[[สิทธิมนุษยชน]] เดิมเป็นทนายความ และมีชื่ออยู่ในรายชื่อผู้กระทำผิดกฎหมายในยุค[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]เนื่องจากกิจกรรมทางการเมือง ใน[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564]] เป็นนักเคลื่อนไหวที่มีชื่อเสียงจากข้อเสนอล้มล้างการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างเปิดเผย<ref name=":0">{{Cite web|last=Post|first=The Jakarta|title=Three activists who break Thailand’s deepest taboo|url=https://www.thejakartapost.com/seasia/2020/08/21/three-activists-who-break-thailands-deepest-taboo.html|access-date=2020-09-17|website=The Jakarta Post|language=en|archive-date=2020-09-23|archive-url=https://web.archive.org/web/20200923205057/https://www.thejakartapost.com/seasia/2020/08/21/three-activists-who-break-thailands-deepest-taboo.html|url-status=dead}}</ref> และมักถือเป็นบุคคลระดับแกนนำสำคัญของผู้ประท้วง<ref>{{Cite web|title=คุม 'ทนายอานนท์ - ไมค์' ส่งศาลแล้วทั้งคู่ ทามกลางมวลชนนับร้อย|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/892779|access-date=2020-09-17|website=https://www.bangkokbiznews.com/|language=en|archive-date=2020-09-13|archive-url=https://web.archive.org/web/20200913092115/https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/892779|url-status=dead}}</ref>
 
== ประวัติ ==
เขาเกิดเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2527 ที่[[อำเภอธวัชบุรี]] (ปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวได้แยกออกมาเป็น[[อำเภอทุ่งเขาหลวง]]) [[จังหวัดร้อยเอ็ด]]<ref name=":0" /> สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก[[โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย]]<ref>{{cite web|url=https://www.theisaander.com/post/interviewanonlawyer040220|title=The Isaander กินลาบกับทนายอานนท์|website=The Isaander|date=2020-02-04|access-date=2020-09-19|archive-date=2020-09-19|archive-url=https://web.archive.org/web/20200919065628/https://www.theisaander.com/post/interviewanonlawyer040220|url-status=dead}}</ref> สำเร็จการศึกษาจาก[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง|คณะนิติศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ต่อมาเอาดีทางด้านสิทธิมนุษยชนในปี พ.ศ.2549 ต่อมาในปี พ.ศ.2551 เขาประกอบอาชีพเป็นทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนและรับว่าความให้จำเลยนักเคลื่อนไหวคนสำคัญ รวมทั้ง[[อำพล ตั้งนพกุล]] และ [[จตุภัทร์ บุญภัทรรักษา]] (ไผ่ ดาวดิน) ระหว่าง[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553]] ทำให้ถูกตั้งชื่อว่า ทนายเสื้อแดง<ref name=":0" />
 
หลังจากการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] เขารับว่าความคดีสิทธิมนุษยชนจำนวนมาก และเริ่มดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเองด้วย ในปี 2558 เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพลเมืองโต้กลับ นับแต่นั้นเขาถูกทางการตั้งข้อหาว่าละเมิดกฎหมายหลายข้อหา<ref name=":0" />
 
ใน[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563]] เขาถูกมองว่าเป็นหนึ่งในแกนนำของผู้ประท้วง เป็นผู้ปราศรัยในการชุมนุมหลายครั้ง วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2563 อานนท์เริ่มเป็นที่รู้จักอีกครั้งจากการชุมนุม "เสกคาถาปกป้องประชาธิปไตย" ณ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย โดยกลุ่มมหานครเพื่อประชาธิปไตยและกลุ่มมอกะเสด และมีการพูดถึงข้อเรียกร้องให้ปฏิรูปสถาบันกษัตริย์เป็นครั้งแรก<ref>https://thestandard.co/arnon-explains-after-got-reported-to-police-on-harry-potter-mob/ สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม พ.ศ.2564</ref> หลังจากนั้นเขาถูกตั้งข้อหาจากการชุมนุมของ[[คณะประชาชนปลดแอก|เยาวชนปลดแอก]]ที่[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2563<ref>{{Cite news|date=2020-08-20|title=Thai police arrest nine in sweep against activists|language=en-GB|work=BBC News|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-53844232|access-date=2020-09-17}}</ref><ref>{{Cite web|title=Thailand: Police Again Detain Lawyer Involved in Anti-Govt Rallies|url=https://www.benarnews.org/english/news/thai/protest-warrants-08192020182904.html|access-date=2020-09-17|website=BenarNews|language=en|archive-date=2020-09-18|archive-url=https://web.archive.org/web/20200918041544/https://www.benarnews.org/english/news/thai/protest-warrants-08192020182904.html|url-status=dead}}</ref> โดยมีข้อหาร่วมทั้ง[[ปลุกปั่นให้ขัดขืนอำนาจปกครอง]]<ref>{{Cite web|date=2020-08-19|title=Anon Nampa and other Thai youth protesters hit with arrest warrants|url=https://www.scmp.com/news/asia/southeast-asia/article/3097966/anon-nampa-other-thai-youth-protesters-hit-arrest-warrants|access-date=2020-09-17|website=South China Morning Post|language=en|archive-date=2020-09-15|archive-url=https://web.archive.org/web/20200915064030/https://www.scmp.com/news/asia/southeast-asia/article/3097966/anon-nampa-other-thai-youth-protesters-hit-arrest-warrants|url-status=dead}}</ref> ในวันที่ 3 สิงหาคม 2563 เขาปราศรัยในที่ชุมนุมเรียกร้องให้ล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยกล่าวว่าสถาบันพระมหากษัตริย์ห่างไกลจากประชาชนเนื่องจากมีความไม่โปร่งใสและมีบทบาททางการเมือง หลังจากนั้นเขาถูกตำรวจจับกุม 3 ครั้ง<ref>{{Cite web|last=Post|first=The Jakarta|title=Police arrest Thai activist over rally calling for reform of monarchy|url=https://www.thejakartapost.com/seasia/2020/08/25/police-arrest-thai-activist-over-rally-calling-for-reform-of-monarchy.html|access-date=2020-09-17|website=The Jakarta Post|language=en|archive-date=2020-09-23|archive-url=https://web.archive.org/web/20200923203349/https://www.thejakartapost.com/seasia/2020/08/25/police-arrest-thai-activist-over-rally-calling-for-reform-of-monarchy.html|url-status=dead}}</ref> ในครั้งที่สาม ประมาณต้นเดือนกันยายน เขาไม่ยอมรับการประกันตัวโดยมีเงื่อนไขอีกและถูกส่งเข้าเรือนจำ<ref>{{Cite news|date=2020-09-03|title=Thailand to jail protest activists for bail breach|language=en-GB|work=BBC News|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-54013796|access-date=2020-09-17}}</ref><ref>{{Cite news|last=Wongcha-um|first=Panu|date=2020-09-04|title=Thailand jails protesters for breach of bail terms|language=en|work=Reuters|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-protests-idUSKBN25U1J9|access-date=2020-09-17}}</ref> ก่อนตำรวจปล่อยตัวในวันทำการถัดมาโดยอ้างว่าสอบสวนแล้วเสร็จ
 
ในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 มีรายงานว่าเขา ติดเชื้อ[[ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2)]]<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/2085296 "ทนายอานนท์" ติดเชื้อโควิด-19 เร่งส่ง รพ.ราชทัณฑ์]</ref> ภายในเรือนจำ ก่อนรักษาตัว ณ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จนหายเป็นปกติ
 
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 มูลนิธิ 18 พฤษภารำลึก หรือ May 18 Memorial Foundation องค์กรส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ประเทศเกาหลีใต้ จัดพิธีมอบ[[รางวัลควังจูเพื่อสิทธิมนุษยชน]]ประจำปี 2021 ให้กับอานนท์ นำภา โดยเชิญให้อานนท์ร่วมผ่านทางวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ แต่ทนายอานนท์ยังรักษาอาการจากเชื้อโควิด19 ที่ติดจากเรือนจำพิเศษกรุงเทพ ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ และยังอยู่ในการควบคุมตัว เพราะศาลไม่มีคำสั่งให้ประกันตัว จึงไม่สามารถร่วมพิธีได้<ref>[https://www.matichon.co.th/politics/news_2728908 มูลนิธิ 18 พ.ค. เกาหลีใต้ จัดพิธีมอบรางวัล ‘กวางจูสิทธิมนุษยชน 2021’ ให้ ‘อานนท์ นำภา’ เที่ยงวันนี้] Matichon Online 2021-05-18 สืบค้นเมื่อ 2021-05-18</ref>