ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมบูรณาญาสิทธิราชย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Forms of government map}}
{{ระบอบการปกครอง}}
'''สมบูรณาญาสิทธิราชย์''' ({{lang-en|absolute monarchy}})<ref>{{cite book|last1=Goldie|first1=Mark|title=The Cambridge History of Eighteenth-Century Political Thought|last2=Wokler|first2=Robert|date=2006-08-31|publisher=Cambridge University Press|isbn=9780521374224|page=523|chapter=Philosophical kingship and enlightened despotism|access-date=13 January 2016|chapter-url=https://books.google.com/books?id=eFNHyh9WY3AC&pg=PA523}}</ref><ref>{{cite book|last1=Leopardi|first1=Giacomo|url=https://books.google.com/books?id=xzCpxEYO6JwC&pg=PA1438|title=Zibaldone|date=2013|publisher=Farrar Straus Giroux|isbn=978-0374296827|page=1438|author-link1=Giacomo Leopardi|orig-year=original 1898}}</ref> เป็นรูปแบบหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ได้มีอำนาจสูงสุดที่เด็ดขาด โดยส่วนใหญ่จะไม่ถูกจำกัดโดยกฏหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร สภานิติบัญญัติ หรือขนมประเพณีที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร<ref name="Harris20092">{{cite book|author=Nathanial Harris|url=https://books.google.com/books?id=o5SKJanyblIC&pg=PA49|title=Systems of Government Monarchy|publisher=Evans Brothers|year=2009|isbn=978-0-237-53932-0|pages=10}}</ref> สิ่งเหล่านี้มักจะเป็น[[ระบอบราชาธิปไตยแบบสืบสันตติวงศ์]] ในทางตรงกันข้าม ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อำนาจประมุขแห่งรัฐมาจากหรือถูกข้อผูกมัดหรือถูกจำกัดโดยชอบด้วยรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติ หรือขนมประเพณีที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร<ref name="Harris2009" />
'''สมบูรณาญาสิทธิราชย์''' ({{lang-en|absolute monarchy}}) คือ ระบอบการปกครองที่[[ราชาธิปไตย|มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครอง]]และมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ[[อัตตาธิปไตย|แต่ผู้เดียว]] ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ พระบรมราชโองการและพระราชประสงค์ล้วนมีผลเป็นกฎหมาย<ref name="amorn">อมร รักษาสัตย์, [http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc พระราชอำนาจตามกฎหมาย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070927172557/http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc |date=2007-09-27 }}</ref> กษัตริย์ไม่ถูกยับยั้งด้วยกฎหมาย สภาหรือขนบธรรมเนียมใด ๆ<ref name="Harris2009">{{cite book|author=Nathanial Harris|title=Systems of Government Monarchy|url=https://books.google.com/books?id=o5SKJanyblIC&pg=PA49|year=2009|publisher=Evans Brothers|isbn=978-0-237-53932-0|pages=10}}</ref> ตำแหน่งกษัตริย์มักสืบทอดตามสายโลหิต ส่วนระบอบที่กษัตริย์ถูกจำกัดพระราชอำนาจด้วยรัฐธรรมนูญ สภาหรือขนบธรรมเนียมนั้น เรียกว่า [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
 
แนวคิดที่ถูกแพร่หลายของระบอบราชาธิปไตยแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในยุโรปได้ลดทอนลงอย่างมากภายหลัง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ซึ่งได้ส่งเสริมทฤษฏีการปกครองตามแนวคิดเรื่อง[[อำนาจอธิปไตยของปวงชน|อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน]]
ราชาธิปไตยในบางประเทศมีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ทุกเมื่อตามพระราชอัธยาศัย ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ [[ประเทศซาอุดีอาระเบีย|ซาอุดีอาระเบีย]] [[ประเทศบรูไน|บรูไน]] [[ประเทศโอมาน|โอมาน]] [[เอสวาตินี]] [[กาตาร์]] [[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] รวมทั้ง [[นครรัฐวาติกัน]] ด้วย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
ระบอบราชาธิปไตยบางแห่งนั้นจะมีสภานิติบัญญัติที่ดูอ่อนแอหรือเป็นเพียงแค่สัญลักษณ์และหน่วยงานรัฐอื่น ๆ ซึ่งกษัตริย์สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือสั่งยุบได้ตามพระราชประสงค์ ประเทศที่กษัตริย์ยังคงรักษาอำนาจที่เด็ดขาด ได้แก่ [[บรูไน]] [[เอสวาตีนี]] [[โอมาน]] [[ซาอุดีอาระเบีย]] [[นครวาติกัน]] และแต่ละเอมิเรตส์ซึ่งได้ถูกรวมเข้ากันเป็น[[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] ซึ่งเป็น[[สหพันธรัฐ]]ของระบอบราชาธิปไตย์ดังกล่าว – [[สหพันธรัฐแบบราชาธิปไตย]]<ref name="qat-abs">{{cite news|last1=Stephens|first1=Michael|date=2013-01-07|title=Qatar: regional backwater to global player|work=BBC News|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-middle-east-20890765}}</ref><ref name="oman-abs">{{cite news|date=2011-10-13|title=Q&A: Elections to Oman's Consultative Council|work=BBC News|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-middle-east-15288960}}</ref><ref name="Cavendish78" /><ref name="swazi-abs">{{cite news|date=2018-09-03|title=Swaziland profile|work=BBC News|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-africa-14095303}}</ref><ref name="vaticancity">{{cite web|title=State Departments|url=http://www.vaticanstate.va/content/vaticanstate/en/stato-e-governo/organi-dello-stato.html|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20131102165340/http://www.vaticanstate.va/content/vaticanstate/en/stato-e-governo/organi-dello-stato.html|archive-date=2013-11-02|access-date=2014-01-25|publisher=Vaticanstate.va}}</ref><ref name=":0">{{cite news|title=Vatican to Emirates, monarchs keep the reins in modern world|newspaper=[[The Times of India]]|url=http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2011-05-02/education/29495629_1_monarchy-absolute-power-head|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20131016094408/http://articles.timesofindia.indiatimes.com/2011-05-02/education/29495629_1_monarchy-absolute-power-head|archive-date=2013-10-16}}</ref><ref>{{Cite web|title=State Departments|url=https://www.vaticanstate.va/en/state-government/state-departments/state-departments-1.html|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20200411154311/https://www.vaticanstate.va/en/state-government/state-departments/state-departments-1.html|archive-date=2020-04-11|access-date=2019-09-21|website=www.vaticanstate.va}}</ref>
 
== ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทย ==
[[ประเทศไทย]]เคยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีอำนาจสิทธิ์เด็ดขาดในการปกครองแผ่นดิน ดังคำกล่าวที่ว่า
''"พระบรมราชานุภาพของพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยามนี้ ไม่ได้ปรากฏในกฎหมายอันหนึ่งอันใด ด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นที่ล้นพ้น ไม่มีข้อสั่งอันใดจะเป็นผู้บังคับขัดขวางได้"''<ref name="amorn">อมร รักษาสัตย์, [http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc พระราชอำนาจตามกฎหมาย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070927172557/http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc|date=2007-09-27}}</ref>
 
ในทัศนะของ [[นครินทร์ เมฆไตรรัตน์]] อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยนั้น ไม่ได้เป็นระบอบที่มีมาแต่สมัยโบราณ แต่เพิ่งมีมาในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] เนื่องจากในรัชกาลนี้ พระองค์ทรงรวบอำนาจจากเหล่าขุนนาง ข้าราชการ ที่เคยมีอำนาจและบทบาทมาก่อนหน้านั้น มาไว้ที่ศูนย์กลางการปกครอง คือ ตัวพระองค์ และพระประยูรญาติ ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงดำรงสถานะเป็นทั้งประมุขของรัฐและประมุขของฝ่ายบริหารอย่างแท้จริง เท่ากับว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยมีเพียง 3 รัชกาลเท่านั้น คือ รัชกาลที่ 5, [[รัชกาลที่ 6]] และรัชกาลที่ 7<ref>หน้า 110, ''รศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ เหตุแห่งการปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕''. สัมภาษณ์. นิตยสารสารคดี "๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕" ฉบับที่ ๑๗๒: มิถุนายน ๒๕๔๒</ref>