ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเงินเฟ้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Txp158 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9662099 สร้างโดย The Mark-7032 (พูดคุย) ตระกร้า สะกดผิดครับ
ป้ายระบุ: ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9662105 โดย The Mark-7032 (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 24:
== ภาวะเงินเฟ้อในประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:US Historical Inflation Ancient.svg|thumb|upright=1.55|อัตราเงินเฟ้อประจำปีของอเมริกาตั้งแต่ปีค.ศ. 1666 ถึง 2019]]
การเพิ่มขึ้นของปริมาณ[[เงิน]]ที่หมุนเวียนในระบบเกิดขึ้นในสังคมทุกยุคทุกสมัย จะแตกต่างก็เพียงชนิดของเงินที่ใช้ (เช่นธนบัตร เปลือกหอย หรือ อัญมณี) <ref>{{Cite news | last = Dobson | first = Roger | title = How Alexander caused a great Babylon inflation | newspaper = [[The Independent]] | date = January 27, 2002 | url = http://www.independent.co.uk/news/world/europe/how-alexander-caused-a-great-babylon-inflation-671072.html | archiveurl = https://www.webcitation.org/5ovyhfeCD?url=http://www.independent.co.uk/news/world/europe/how-alexander-caused-a-great-babylon-inflation-671072.html | archivedate = 2010-04-12 | accessdate = April 12, 2010 | ref = harv | postscript = <!--None--> | url-status = dead }}</ref><ref>{{Cite journal | last = Harl | first = Kenneth W. | author-link = Kenneth W. Harl | title = Coinage in the Roman Economy, 300 B.C. to A.D. 700 | place = [[Baltimore]] | publisher = [[The Johns Hopkins University Press]] | date = June 19, 1996 | isbn = 0-8018-5291-9 | ref = harv | postscript = <!--None-->}}</ref> ยกตัวอย่างสมัยที่ยังมีการใช้เหรียญทองคำแทนเงิน รัฐบาลสามารถนำเหรียญทองมาเจือจางด้วยโลหะอื่นๆอื่น ๆ เช่น เงิน ทองแดง หรือ ตะกั่ว แล้วนำกลับไปใช้ในระบบที่มูลค่าหน้าเหรียญเท่าเดิม การเพิ่มเหรียญให้มากขึ้นโดยใช้ปริมาณทองคำเท่าเดิมถือเป็นการทำกำไรซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์เรียกว่า [[:en:seigniorage|การออกหนี้ (หรือเงิน) โดยไม่มีต้นทุน (หรือลดต้นทุน)]]<ref>{{cite web|url=http://www.mint.ca/royalcanadianmintpublic/RcmImageLibrary.aspx?filename=RCM_AR06_E.pdf |title=Annual Report (2006), Royal Canadian Mint, p. 4 |publisher=Mint.ca |accessdate=May 21, 2011}}</ref> เมื่อปริมาณเหรียญในระบบเพิ่มขึ้นมูลค่าที่แท้จริงของเหรียญแต่ละเหรียญจึงลดลง ผู้บริโภคจึงต้องจ่ายเงินมากขึ้นเพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการในปริมาณเท่าเดิม<ref>Frank Shostak, "[https://mises.org/story/3018 Commodity Prices and Inflation: What's the connection", Mises Institute]</ref>
 
[[ราชวงศ์ซ่ง]]ของจีนเป็นผู้ริเริ่มการตีพิมพ์เงินกระดาษหรือ[[ธนบัตร]]และถือเป็น[[:en:fiat money|เงินตราที่บังคับให้ประชาชนใช้โดยที่รัฐบาลไม่ต้องถือทุนสำรอง]]ครั้งแรกของโลก<ref name="Glahn">{{cite book|author=Richard von Glahn|title=Fountain of Fortune: Money and Monetary Policy in China, 1000–1700|accessdate=28 September 2012|date=27 December 1996|publisher=University of California Press|isbn=978-0-520-20408-9|page=48}}</ref> ในช่วง[[ราชวงศ์หยวน]]ของมองโกลรัฐบาลใช้เงินอย่างมากมายไปกับการศึกสงคราม จึงจัดให้มีการพิมพ์ธนบัตรอย่างมากมายและทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ<ref name="Ropp2010">{{cite book|author=Paul S. Ropp|title=China in World History|accessdate=28 September 2012|date=9 July 2010|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-517073-3|pages=82}}</ref> ปัญหาเงินเฟ้อทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ จนในที่สุดผู้คนหยุดใช้ธนบัตรเนื่องจากเห็นว่าเป็นเพียง "กระดาษไร้ค่า"<ref name="Bernholz">{{cite book|author=Peter Bernholz|title=Monetary Regimes and Inflation: History, Economic and Political Relationships|accessdate=28 September 2012|year=2003|publisher=Edward Elgar Publishing|isbn=978-1-84376-155-6|pages=53–55}}</ref> รัฐบาลในสมัยราชวงศ์หมิงตอนต้นเกรงกลัวต่อสิ่งที่เกิดขึ้นกับราชวงศ์หยวน จึงอนุญาตให้ใช้เงินที่ทำจากเหรียญทองแดงเท่านั้นและไม่มีออกเงินกระดาษจนกระทั่งปีค.ศ. 1375<ref name="Bernholz"/>
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการนำทองหรือแร่เงินเข้าสู่ระบบมากขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ สามารถทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อได้เช่นเดียวกัน ตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 15 จนถึงครึ่งแรกของศควรรษที่ 17 ประเทศยุโรปตะวันตกได้เผชิญกับวงจรเงินเฟ้อครั้งสำคัญซึ่งเรียกว่า [[:en:price revolution|การปฏิวัติทางราคา]]<ref>[[Earl J. Hamilton]], ''American Treasure and the Price Revolution in Spain, 1501–1650'' Harvard Economic Studies, 43 (Cambridge, Massachusetts: [[Harvard University Press]], 1934)</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.chass.utoronto.ca/ecipa/archive/UT-ECIPA-MUNRO-99-02.pdf |title=John Munro: ''The Monetary Origins of the 'Price Revolution':South Germany Silver Mining, Merchant Banking, and Venetian Commerce, 1470–1540'', Toronto 2003 |access-date=2015-10-30 |archive-date=2009-03-06 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090306002320/http://www.chass.utoronto.ca/ecipa/archive/UT-ECIPA-MUNRO-99-02.pdf |url-status=dead }}</ref> โดยที่สินค้ามีราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณหกเท่าภายในเวลา 150 ปี สาเหตุหลักมาจากการหลั่งไหลของแร่เงินและทองจาก[[โลกใหม่]]เข้าสู่สเปนในสมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite book |author=Walton, Timothy R. |title=The Spanish Treasure Fleets |publisher=Pineapple Press (FL) |year= 1994|page=85 |isbn=1-56164-049-2 |oclc= }}</ref> แร่เงินได้กระจายเข้าสู่ยุโรปซึ่งขาดแคลนตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าส่งผลให้เกิดภาวะเงินเฟ้ออย่างกว้างขวาง<ref>[https://ideas.repec.org/p/bsl/wpaper/2007-12.html The Price Revolution in Europe: Empirical Results from a Structural Vectorautoregression Model. Peter Kugler and Peter Bernholz, University of Basel, 2007] (Demonstrates that it was the increased supply of precious metals that caused it and notes the obvious logical flaws in the contrary arguments that have become fashionable in recent decades)</ref><ref>{{cite book |author=Tracy, James D. |title=Handbook of European History 1400–1600: Late Middle Ages, Renaissance, and Reformation |publisher=Brill Academic Publishers |location=Boston |year= 1994|page=655 |isbn=90-04-09762-7 |oclc= }}</ref> ในขณะที่การเพิ่มขึ้นของประชากรในยุโรปหลัง[[แบล็กเดท|การระบาดครั้งใหญของโรคกาฬโรค]]ถือเป็นส่วนเสริมให้มีการขยับขึ้นของราคาสินค้าเช่นเดียวกัน
 
ในช่วงศตวรรษที่ 19 นักเศรษฐศาสตร์ชี้ให้เห็นว่าการขึ้นลงของราคาสินค้ามีสาเหตุมาจาก 3 ปัจจัยได้แก่ (1) การเปลี่ยนแปลงมูลค่าพื้นฐานหรือค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้า (2) การเปลี่ยนแปลงราคาของ[[:en:commodity|สินค้าโภคภัณฑ์]]ซึ่งก็คือแร่โลหะที่เกี่ยวข้องกับ[[เงินตรา|สกุลเงิน]]นั้นๆนั้น ๆ เช่น ทองคำ หรือ เงิน และ (3) "การลดค่าของสกุลเงิน" ซึ่งขึ้นอยู่กับอัตราส่วนของปริมาณเงินตรากับปริมาณของโลหะสำรองที่เงินตรานั้นๆนั้น ๆ สามารถนำไปแลกได้ หลังจากมีการใช้[[บัตรธนาคาร]] (ซึ่งออกโดยธนาคารพาณิชย์) อย่างแพร่หลายในช่วง[[สงครามกลางเมืองอเมริกา]] คำว่า "ภาวะเงินเฟ้อ" จึงเริ่มมีความหมายตรงกับการลดค่าของสกุลเงิน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของบัตรธนาคารได้แซงปริมาณของโลหะที่บัตรธนาคารนั้นๆนั้น ๆ สามารถทำไปแลกได้ ในสมัยนั้น "ภาวะเงินเฟ้อ" จึงหมายถึงการลดค่าของสกุลเงินแทนที่จะหมายถึงการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า<ref name="Bryan">Michael F. Bryan, "[http://www.clevelandfed.org/research/Commentary/1997/1015.pdf On the Origin and Evolution of the Word 'Inflation'] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080819185226/http://www.clevelandfed.org/research/Commentary/1997/1015.pdf |date=2008-08-19 }}"</ref>
 
นักเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิคเช่น [[เดวิด ฮูม]] และ [[:en:David Ricardo|เดวิด ริคาร์โด]] ชี้ให้สังคมเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่มากเกินไปของบัตรธนาคารและการลดค่าของตัวบัตร และภายหลังได้ทำการตรวจสอบและอภิปรายผลกระทบของ[[:en:Monetary inflation|การลดค่าของสกุลเงิน]]ที่มีต่อการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า<ref>Mark Blaug, "[https://books.google.com/books?id=4nd6alor2goC&pg=PA127&lpg=PA127&dq=bullionist+inflation&source=web&ots=mG3_PT_O6q&sig=ViD-klPJPpaZxCBjdcPKh9zlwyU&hl=en&sa=X&oi=book_result&resnum=5&ct=result#PPA128,M1 Economic Theory in Retrospect]", pg. 129: "...this was the cause of inflation, or, to use the language of the day, 'the depreciation of banknotes.'"</ref>
 
ในช่วงศตวรรษที่ 18 หลายประเทศนำระบบเงินกระดาษที่รัฐบาลไม่ต้องถือทุนสำรองมาใช้ จึงทำให้เกิดสกุลเงินต่างๆต่าง ๆ ขึ้นมากมาย นับตั้งแต่สมัยนั้นการเพิ่มขึ้นของการใช้เงินกระดาษส่งผลให้เกิดภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดหลายครั้งในหลายประเทศ และในแต่ละครั้งมีความรุนแรงมากกว่าในสมัยที่ยังใช้เงินที่ทำจากแร่โลหะ [[:en:Hyperinflation in the Weimar Republic|ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดในสาธารณรัฐไวมาร์]]ของเยอรมนีเป็นถือเป็นตัวอย่างที่น่าสนใจ
 
== คำจำกัดความที่เกี่ยวข้อง ==
บรรทัด 49:
 
=== สาระสำคัญในการประเมินอัตราเงินเฟ้อ ===
การวัดอัตราเงินเฟ้อในระบบเศรษฐกิจนั้นจำต้องใช้การวัดอย่างเป็นรูปธรรมโดยจะดูจากการเปลี่ยนแปลงของราคาของสินค้าและบริการทั่ว ๆไป และจำต้องแยกจากการเปลี่ยนแปลงของราคาซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านปริมาณ คุณภาพ หรือ ประสิทธิภาพของสินค้า ตัวอย่างเช่น ถ้าราคาของข้าวโพดกระป๋องขนาด 10 ออนซ์ เปลี่ยนจากราคา 30 บาทเป็น 35 บาทในห้วงเวลาหนึ่งปีโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงในคุณภาพและปริมาณ ความแตกต่างของราคาที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ถือเป็นตัวแทนของอัตราเงินเฟ้อ อย่างไรก็ดีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าเพียงชนิดเดียวไม่สามารถเป็นตัวแทนของของอัตราเงินเฟ้อทั่วไปของระบบเศรษฐกิจทั้งระบบได้ การวัดอัตราเงินเฟ้อโดยรวมจะต้องดูจากการเปลี่ยนแปลงราคาของ "ตะกร้า" สินค้าและบริการในปริมาณมากๆมาก ๆ นี่คือวัตถุประสงค์ของการหาค่าดรรชนีราคาซึ่งก็คือ ราคารวมของสินค้าและการบริการทั้งหมดใน "ตะกร้า" โดยราคารวมหมายถึง ผลรวมของราคาถ่วงน้ำหนักของสินค้าทั้งหมดที่อยู่ใน "ตะกร้า" และราคาถ่วงน้ำหนักจะสามารถหาได้จาก[[:en:unit price|ราคาต่อหน่วย]]ของสินค้าคูณด้วยจำนวนสินค้าชนิดนั้น ๆ ในตระกร้าตะกร้าของผู้บริโภค การหาราคาถ่วงน้ำหนักเป็นวิธีที่จำเป็นในการวัดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าต่อหน่วยที่มีต่อผลอัตราเงินเฟ้อโดยรวมของระบบเศรษฐกิจ ยกตัวอย่างเช่น[[ดรรชนีราคาผู้บริโภค]]จะคำนวณจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยการสำรวจตามบ้านเพื่อหาว่าผู้บริโภคทั่วไปใช้เงินซื้อสินค้าแต่ละชนิดเป็นสัดส่วนเท่าไร และทำการถ่วงน้ำหนักราคาสินค้าเหล่านั้นตามปริมาณของสินค้าที่ถูกซื้อ และเพื่อที่ทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ให้ดีขึ้น การทำดัชนีมักจะเลือกราคาใน "ปีฐาน" และกำหนดค่าให้เท่ากับ 100 โดยดัชนีราคาในปีถัดมาจะแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กับราคาในปีฐาน<ref name=Taylor /> ดังนั้นการเปรียบเทียบอัตราเงินเฟ้อในหลาย ๆ ช่วงเวลาจึงควรคำนึงถึงราคาในปีฐานซึ่งอาจไม่เท่ากันด้วย
 
== สาเหตุ ==
บรรทัด 88:
 
===การตรึงอัตราแลกเปลี่ยน===
ระบบการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนของ[[เงินตรา|สกุลเงิน]] หมายถึงการผูกมูลค่าของสกุลเงินนั่นๆนั้น ๆ ให้เท่ากับมูลค่าของสกุลเงินของประเทศใดประเทศหนึ่ง (ที่มีความแข็งแกร่งเช่น เงินดอลล่าร์สหรัฐ) หรือสกุลเงินของหลายๆหลาย ๆ ประเทศ การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนสามารถนำมาใช้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อได้ แต่เนื่องจากมูลค่าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิงมีการเพิ่มและลดลงตลอดเวลา ดังนั้นมูลค่าของเงินในประเทศที่อยู่ภายใต้ระบบการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนจึงเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามมูลค่าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิง ซึ่งหมายความว่าอัตราเงินเฟ้อของประเทศนั้นๆนั้น ๆ จะถูกกำหนดโดยอัตราเงินเฟ้อของประเทศที่เป็นเจ้าของสกุลเงินที่นำมาอ้างอิง ดังนั้นการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนจึงทำให้รัฐบาลไม่สามารถใช้[[:en:monetary policy|นโยบายการเงิน]]ของตัวเองในการที่จะบรรลุเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาคได้
 
ภายใต้ข้อตกลงเบรตตันวูดส์ ประเทศหลายๆหลาย ๆ ประเทศทั่วโลกได้ทำการตรึงอัตราแลกเปลี่ยนไว้กับดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมีประโยชน์ในการจำกัดการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ แต่ข้อเสียคือทำให้ประเทศเหล่านั้นตกเป็นเป้าของการโจมตีค่าเงิน ดังนั้นภายหลังจากที่ข้อตกลงเบรตตันวูดส์มีอันเป็นที่สิ้นสุดลงในช่วงต้นปี ค.ศ. 1970 ประเทศต่างๆต่าง ๆ จึงได้ทยอยหันไปใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว อย่างไรก็ดีในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 มีหลายประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศในทวีปอเมริกาใต้เช่น อาร์เจนตินา (ค.ศ. 1991 - 2002), โบลิเวีย, บราซิลและชิลี) ได้หวนกลับไปใช้การตรึงอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อที่จะควบคุมอัตราเงินเฟ้อ
 
===ระบบมาตรฐานทองคำ===
ระบบมาตรฐานทองคำเป็นระบบการเงินที่ประเทศต่างๆต่าง ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนสกุลเงิน โดยแต่ละประเทศจะต้องกำหนดความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างหน่วยเงินของประเทศของตัวเองกับทองคำ ในระบบนี้สกุลเงินของประเทศต่างๆต่าง ๆ ไม่ถือว่ามีมูลค่าด้วยตัวของมันเอง แต่ผู้ค้ายอมรับตัวเงินเนื่องจากสามารถนำไปแลกเปลี่ยนเป็นทองคำได้ ตัวอย่างเช่น ธนบัตรดอลล่าร์สหรัฐในอดีตจะมีการประทับตรารับรองบนธนบัตรว่าสามารถนำไปแลกเป็นแร่เงินได้จากรัฐบาล
 
มาตรฐานทองคำได้ถูกเลิกใช้ไปบางส่วนภายหลังการนำข้อตกลงเบรตตันวูดส์มาใช้ ภายใต้ระบบนี้เงินสกุลใหญ่ทุกสกุลจะถูกตรึงให้มีอัตราคงที่กับเงินดอลลาร์ ในขณะที่เงินดอลลาร์จะถูกผูกติดอยู่กับทองคำในอัตรา 35 ดอลล่าร์สหรัฐต่อออนซ์ ระบบเบรตตันวูดส์มีอันเป็นที่สิ้นสุดลงในปี 1971 ทำให้ประเทศส่วนใหญ่เปลี่ยนไปใช้[[:en:fiat money|ระบบเงินกระดาษที่รัฐบาลไม่ต้องถือเงินทุนสำรอง]] ซึ่งหมายถึงการที่เงินตรามีค่าตามที่กฎหมายของแต่ละประเทศเป็นผู้กำหนด
บรรทัด 100:
 
===การควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้า===
การควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้านั้นเป็นอีกหนึ่งวิธีที่มีการนำมาใช้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อในอดีต การควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้ามักจะทำให้เกิดผลดีในช่วงภาวะสงครามเมื่อนำมาใช้ร่วมกับการปันส่วนอาหารและเครื่องบริโภค อย่างไรก็ตามในบริบทอื่นๆอื่น ๆ ผลลัพธ์ของการควบคุมราคาสินค้ามีทั้งดีและร้าย ตัวอย่างความล้มเหลวของการควบคุมเงินเฟ้อด้วยวิธีนี้สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในกรณี[[:en:incomes policy|การกำหนดค่าจ้างและการควบคุมราคา]]โดยประธานาธิบดีบดี ริชาร์ด นิกสัน ในปีค.ศ. 1972 ในขณะที่ตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จจะเห็นได้จาก[[:en:Prices and Incomes Accord|ข้อตกลงราคาสินค้าและค่าจ้าง]]ของออสเตรเลีย และ[[:en:Wassenaar Arrangement|ข้อตกลงวาสเสนน่า]]ของประเทศเนเธอร์แลนด์
 
โดยทั่วไปการควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้าจะถูกมองว่าเป็นเพียงมาตรการชั่วคราวซึ่งสามารถนำมาใช้เฉพาะในกรณีพิเศษ และจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อใช้ร่วมกับนโยบายที่ออกแบบมาเพื่อแก้ต้นเหตุของภาวะเงินเฟ้อ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศเข้าสู่ภาวะสงครามก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ จึงใช้การควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้าชั่วคราว ในขณะที่รัฐบาลควรออกนโยบายแก้ปัญหาต้นเหตุของภาวะเงินเฟ้อซึ่งก็คือการยุติหรือการมีชัยชนะจากสงคราม การควบคุมค่าจ้างและราคาสินค้าก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบเศรษฐกิจอย่างมาก เนื่องจากเป็นการส่งสัญญาณที่บิดเบี้ยวไปยังตลาด การบังคับให้ขายสินค้าในราคาต่ำมักจะเป็นต้นเหตุของการจำกัดการกระจายและการขาดแคลนสินค้า และการทำให้นักลงทุนไม่อยากนำสินค้ามาขายในอนาคต ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการขาดแคลนสินค้าให้เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม หากจะใช้การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์อาจกล่าวได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือบริการใด ๆ ที่มีราคาต่ำจะมีการบริโภคสูง และเมื่อเป็นเช่นนั้น ปริมาณของผลิตภัณฑ์นั้นๆนั้น ๆ ในตลาดจะลดต่ำลง หากไม่มีการปรับตัวของราคาสินค้าให้กลับมา ณ จุดเดิมก็จะไม่เกิดการลงทุนเพื่อที่จะผลิตผลิตภัณฑ์นั้นๆนั้น ๆ เพิ่มเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดในอนาคต และจะส่งผลให้เกิดการขาดแคลนสินค้าอย่างรุนแรงในระยะยาว
 
== อ้างอิง ==