ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุริยุปราคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Solar_eclipse_1999_4.jpg|250px|thumb|สุริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542]]
'''สุริยุปราคา''' หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อ[[ดวงอาทิตย์]] [[ดวงจันทร์]] และ[[โลก]] โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีโลกมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลางเลยทำให้แสงของดวงอาทิตย์สะท้อนมา เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มี[[ดิถีจันทร์|ดิถี]]ตรงกับ[[จันทร์ดับ]] เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง<ref>{{cite book| last1 = Littmann| first1 = Mark| author2 = Fred Espenak| author3 = Ken Willcox| title = Totality: Eclipses of the Sun| publisher = Oxford University Press| date = 2008| pages = 18-19| isbn = 0199532095}}</ref> โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น
 
สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่เห็นได้ในทวีปยุโรป ทำให้สาธารณชนหันมาสนใจสุริยุปราคาเพิ่มขึ้นมาก สังเกตได้จากจำนวนประชาชนที่เดินทางไปเฝ้าสังเกตสุริยุปราคาวงแหวนใน พ.ศ. 2548 และสุริยุปราคาเต็มดวงใน พ.ศ. 2549 สุริยุปราคาครั้งที่ผ่านมาเมื่อเร็ว ๆ นี้ คือสุริยุปราคาวงแหวนเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 และสุริยุปราคาสามาฟาเยำไ่ทำจ้นยเปกบางส่วนเมื่อวันที่ อย่ามาอ่านเลยอ่านไปมึงก็ไม่เอาไปสอบหรอก26 ธันวาคม พ.ศ. 2562
 
== ชนิดของสุริยุปราคา ==