ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธัมมจักกัปปวัตนสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 3:
{{พุทธศาสนา}}
 
'''ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรธัมมจักกัปปวัตนสูตร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). ''กฎหมายตราสามดวง : พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9786167073118. หน้า 144.</ref><ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (ม.ป.ป.). [http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp ''พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.''] [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 27 พฤศจิกายน 2554. (หาคำ "ธรรมจักร")</ref> หรือเขียนอย่าง[[ภาษาบาลี|ภาษามคธ]]ว่า '''ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร''' ([http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3.ogg ฟัง]) เป็นปฐมเทศนา เทศนากัณฑ์แรก ที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงแสดงแก่พระ[[ปัญจวัคคีย์]]<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 '''ธัมมจักกัปปวัตนสูตร'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=04&A=355&Z=445]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52</ref> เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสธัมมจักกัปปวัตนสูตรนี้อยู่ [[จักษุ (พุทธศาสนา)|ดวงตาเห็นธรรม]] ปราศจากธุลีปราศจากมลทิน ก็ได้เกิดขึ้นแก่ท่าน[[พระอัญญาโกณฑัญญะ|พระโกณฑัญญะ]] นับเป็น[[พระสงฆ์]]สาวกองค์แรกในพระพุทธศาสนา วันนั้นเป็น[[วันอาสาฬหบูชา|วันเพ็ญกลางเดือนอาสาฬหะ]]หรือเดือน 8 เป็นวันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์ บังเกิดขึ้นในโลกเป็นครั้งแรก คือมี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ครบบริบูรณ์
 
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธส่วนที่สุดสองอย่าง และเสนอแนวทางดำเนินชีวิตโดยสายกลางอันเป็นแนวทางใหม่ให้มนุษย์ มีเนื้อหาแสดงถึงขั้นตอนและแนวทางในการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงอริยสัจทั้ง 4 คือ อริยมรรคมีองค์ 8 โดยเริ่มจากทำความเห็นให้ถูกทางสายกลางก่อน เพื่อดำเนินตามขั้นตอนการปฏิบัติรู้เพื่อละทุกข์ทั้งปวง เพื่อความดับทุกข์ อันได้แก่[[นิพพาน]] ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา