ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเสริฐ ณ นคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Patcha007 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| birth_name =
| birth_date = 21 มีนาคม พ.ศ. 2462
| birth_place = ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ [[จังหวัดแพร่]] [[ประเทศสยาม]]
| disappeared_date =
| disappeared_place =
บรรทัด 82:
ศาสตราจารย์ประเสริฐสนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ
 
== ประวัติ ==
ศาสตราจารย์ประเสริฐเกิดในวัน[[วสันตวิษุวัต]] ของปี ค.ศ. 1919 ตรงกับวันศุกร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2461 (พ.ศ. 2462 ตามปฏิทินสากล) เวลา​ 10 นาฬิกา​ 20​ นาที​ สัมฤทธิ์ศก ปีมะแม ตรงปักขทืนล้านนา ในวันเต่าสัน แรม 5 ค่ำ เดือน 6 จ.ศ. 1280 ปีเปิกสะง้า เป็นปีที่พิสูจน์[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] เกิดที่ตำบลในเวียง [[อำเภอเมืองแพร่]] [[จังหวัดแพร่]] เป็นบุตรของบุญเรือง และกิมไล้ ศาสตราจารย์ประเสริฐสมรสกับเยาวลักษณ์ (สกุลเดิม ลีละชาติ) มีบุตรคือ ปิยพร ณ นคร หลังจากจดทะเบียนหย่าแล้วในปี พ.ศ. 2507 ศาสตราจารย์ประเสริฐได้จดทะเบียนสมรสกับสมทรง (สกุลเดิม โหตระกิตย์) มีบุตรชื่อเสมอใจ บุญวิรัตน์
 
ศาสตราจารย์ประเสริฐเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางในวงวิชาการว่า เป็นปรมาจารย์ในด้านไทยศึกษา ที่มีความรอบรู้ในลักษณะสหวิทยาการ ทั้งคณิตศาสตร์ สถิติ ประวัติศาสตร์ไทย [[ปฏิทินไทย]] ภาษาไทย จารึก ศิลปวรรณคดี และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นนักวิชาการที่ให้ความสำคัญกับการขยายขอบเขตของไทยศึกษา ไปสู่ไทศึกษาหรือการศึกษาเรื่องของ[[ไต (กลุ่มชาติพันธุ์)|ชนเผ่าไท]]อื่น ๆ นอกประเทศไทย ผลงานทางวิชาการของท่านมีอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไท การสืบค้นภาษาไทในเมืองจีน แนวการปริวรรตอักษรพื้นเมืองล้านนา ประวัติศาสตร์สุโขทัยจากจารึก เล่าเรื่องใน[[ไตรภูมิพระร่วง]] ความสำคัญของวรรณคดีท้องถิ่น หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย ประวัติศาสตร์ล้านนาจารึก ความเห็นเรื่องจารึกพ่อขุนรามคำแหง เรื่องเกี่ยวกับ [[ศิลาจารึก]]สุโขทัย และศักราชในจารึกสมัยสุโขทัย เป็นต้น ผลงานเหล่านี้ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง และใช้อ้างอิงในวงวิชาการเสมอมา นักวิชาการหลายสาขาอ้างอิงแนวคิดหรือข้อเสนอของท่าน เพียงใช้อักษรย่อว่า ป.ณ.<ref>[http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/uploads/file/prasoet-inscription.pdf ชีวประวัติ ประเสริฐ ณ นคร]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
== การศึกษา ==
เส้น 105 ⟶ 106:
* พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งเป็น[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516|สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2516/A/171/1.PDF พระบรมราชโองการ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]</ref>
* พ.ศ. 2522-2542 นายกสภาสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร, สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้
* พ.ศ. 2523 ได้รับแต่งตั้งเป็น ศาสตราจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยมหิดล<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/D/071/1419.PDF ได้รับแต่งตั้งเป็น ศาสตราจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยมหิดล]</ref>
* พ.ศ. 2529 นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* พ.ศ. 2542 นายก[[ราชบัณฑิตยสถาน]]
เส้น 139 ⟶ 140:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=145 ประเสริฐ ณ นคร]
* [http://www.ku.ac.th/kaset60kaset60/ku60ku60/prasert.html ประเสริฐ ณ นคร]{{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20171227093117/http://www.ku.ac.th/kaset60kaset60/ku60ku60/prasert.html |date=2017-12-27 }}
 
 
{{นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ}}