ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Owennnnn1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| image =CR300AF-0003位于北京环形铁道.jpg
| image_width = 300px
| caption = [[ซีอาร์อาร์ซีฉางชุนเรลเวย์เวฮิเคิลส์|ซีอาร์อาร์ซีฉางชุน]] [[ฟู่ซิง|ซีอาร์300เอเอฟ]] อีเอ็มยู ซึ่งจะเป็นขนวนรถที่จะใช้ใน <br>[[รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน)|โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน สายตะวันออกเฉียงเหนือ]]
| type = [[รถไฟความเร็วสูง]]
| system = โครงการ[[รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย]]
บรรทัด 50:
# แรงงานก่อสร้างจะต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย ห้ามไม่ให้มีการนำเข้าแรงงานจากประเทศจีน ยกเว้นสถาปนิกและวิศวกรที่อนุญาตให้เป็นสัญชาติจีนเป็นกรณีพิเศษ
 
โครงการได้แบ่งช่วงการดำเนินการออกเป็นทั้งหมด 4 ช่วง ได้แก่ ช่วงกรุงเทพฯ (บางซื่อ) - แก่งคอย และแก่งคอย - นครราชสีมา ที่เริ่มต้นการก่อสร้างเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธานในการเริ่มต้นการก่อสร้าง การก่อสร้างจะแบ่งออกเป็นทั้งหมด 11 ช่วง 14 สัญญาเริ่มจากช่วงกลางดง - ปางอโศก ระยะทาง 3.5 กิโลเมตรเป็นช่วงแรก การก่อสร้างช่วงนี้ล่าช้าไปอย่างมาก จากนั้นทางจีนจะเริ่มจัดส่งแบบช่วงต่อไปมาให้ประเทศไทยตรวจสอบจนครบทั้งโครงการภายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 และการรถไฟแห่งประเทศไทยได้แยกช่วง สถานีกลางบางซื่อ - ท่าอากาศยานดอนเมือง ระยะทาง 14.5 กิโลเมตรออกมาให้เอกชนผู้ชนะของสายตะวันออกเป็นผู้ดำเนินการแทน เพื่อลดข้อครหาเรื่องการใช้ทางร่วมกันระหว่างรัฐบาลไทย รัฐบาลจีน และรัฐบาลญี่ปุ่นที่เข้ามาดำเนินโครงการสายเหนือ คาดว่าจะประมูลครบทั้ง 14 สัญญาภายในต้นปี พ.ศ. 2562 และเปิดดำเนินการได้ใน พ.ศ. 2567 และอีกสองช่วงได้แก่ ช่วงนครราชสีมา - หนองคาย และแก่งคอย - คลอง 19 - ฉะเชิงเทรา กำลังอยู่ในระหว่างการออกแบบเส้นทาง
 
==แนวเส้นทาง==