ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
|long_title = An Act for the better Government of India
|year = ค.ศ. 1858
|citation = [[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]]
|statute_book_chapter = 21 & 22 Vict. c. 106
|royal_assent = 2 สิงหาคม ค.ศ. 1858
บรรทัด 10:
}}
 
'''พระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858''' ({{lang-en|Government of India Act 1858}}) เป็นกฎหมายที่[[รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร]]ตราขึ้นเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1858 รัฐบาลของ[[เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3|ไวเคานต์พาลเมอร์สตัน]]เสนอกฎหมายนี้ขึ้นหลังเกิด[[กบฏอินเดีย ค.ศ. 1857]] กฎหมายฉบับนี้ถ่ายโอนอำนาจการปกครอง[[อนุทวีปอินเดีย]]จาก[[บริษัทอินเดียตะวันออก]]มาขึ้นกับราชสำนักอังกฤษโดยตรง<ref>Wolpert, Stanley (1989). ''A New History of India'' (3d ed.), pp. 239–40. Oxford University Press. ISBN 0-19-505637-X.</ref> ทำให้พระเจ้าแผ่นดินพระมหากษัตริย์อังกฤษทรงสามารถแต่งตั้งสมาชิกรัฐบาลอินเดียและแต่งตั้งข้าหลวงต่างพระองค์ผู้สำเร็จราชการไปปกครองอินเดีย กฎหมายฉบับนี้ทำให้[[การปกครองของบริษัทในอินเดีย]]สิ้นสุดลง และเป็นจุดเริ่มต้น[[บริติชราช]] โดยมีใจความสำคัญดังนี้
# พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรจะทรงปกครองอินเดียผ่านทางรัฐมนตรีว่าการอินเดีย
# ตั้งกระทรวงว่าการอินเดียขึ้น มีรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบ
# ตั้งสภาอินเดียขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกผู้มีประสบการณ์เกี่ยวกับอินเดียจำนวน 15 นาย ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของรัฐมนตรี
# ยกฐานะ "ข้าหลวงต่างพระองค์แห่งผู้สำเร็จราชการอินเดีย" ขึ้นเป็น "อุปราชแห่งอินเดีย" ทำหน้าที่ปกครองอินเดียในฐานะผู้แทนสมเด็จพระราชินีนาถ
# ให้อุปราชบริหารอินเดียโดยมีรัฐบาลอุปราชช่วยทั้งในด้านการบริหารและนิติบัญญัติ
# นโยบายของรัฐบาลอังกฤษในการปกครองอินเดีย
บรรทัด 26:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:บทบัญญัติของอังกฤษกฎหมายสหราชอาณาจักร]]
[[หมวดหมู่:การล่มสลายของจักรวรรดิโมกุล]]