ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรลัณฑา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 19:
|footnotes=[a] ต้นกำเนิดอักษรพราหมีจากเซมิติกไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
}}
[[Imageไฟล์:Landha Script.jpg|thumb|400px|ตารางอักษรลัณฑา]]
'''อักษรลัณฑะ''' (Laṇḍā; {{lit|"ไม่มีหาง"}}) เป็นศัพท์[[ภาษาปัญจาบ]]ที่สื่อถึงระบบการเขียนที่เคยใช้ในแคว้นปัญจาบและพื้นที่ใกล้เคียงในอนุทวีป[[อินเดียเหนือ]]<ref>{{Cite book|url=https://archive.org/details/writingsystemsof00naka/page/50|title=Writing systems of the world: alphabets, syllabaries, pictograms|author=中西 亮(Nakanishi, Akira)|date=1980-01-01|publisher=C.E. Tuttle Co.|isbn=0804812934|location=Rutland, Vt.; Tokyo, Japan|pages=[https://archive.org/details/writingsystemsof00naka/page/50 50-51]|language=en|url-access=registration}}</ref> ใน[[ภาษาสินธี]]มีชื่อเรียกว่า 'Waniko' หรือ 'Baniyañ'<ref>{{Cite book|last=Pollock|first=Sheldon|title=Literary Cultures in History: Reconstructions from South Asia|last2=Raghunathan|first2=Arvind|publisher=University of California Press|year=2003|isbn=9780520228214|pages=623}}</ref> อักษรนี้พัฒนามาจาก[[อักษรศารทา]]เมื่อราว พ.ศ. 1500 ใช้เขียน[[ภาษาปัญจาบ]] โดยชาวปัญจาบและชาวสินธ์ แต่ไม่เหมาะสม เพราะภาษาปัญจาบมีเสียงเพิ่มเติมขึ้น จนราว พ.ศ. 2100 อักษรนี้เป็นแม่แบบ ในการประดิษฐ์อักษรใหม่คือ [[อักษรคุรมุขี]]ที่เหมาะกับภาษาปัญจาบมากกว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 นำอักษรลัณฑะมาใช้เขียน[[ภาษาสินธี]] ในช่วงสั้น ๆ ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ [[อักษรเทวนาครี]]และ[[อักษรอาหรับ]]ดัดแปลงแทนในอีก 50 ปีต่อมา