ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัคซีนดีเอ็นเอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 11:
วัคซีนนี้อาจมีข้อดีกว่าวัคซีนปกติ รวมทั้ง "ก่อการตอบสนองของภูมิคุ้มกันหลายรูปแบบอย่างครอบคลุมกว่า"<ref name="germs">{{cite journal | journal = Germs | date = 2013-03-01 | volume = 3 | issue = 1 | pages = 26-35 | pmid = 24432284 | title = DNA vaccines: roles against diseases | author = Khan, Kishwar Hayat | doi = 10.11599/germs.2013.1034 | pmc = 3882840 | quote = ability to induce a wider range of types of immune response }}</ref>
มีวัคซีนดีเอ็นเอหลายอย่างที่ได้ทดสอบเพื่อใช้ใน[[สัตว์]]แล้ว<ref name=whodnavax/>
ซึ่งในบางกรณีก็ก่อภูมิคุ้มกันโรค{{nowrap |ได้จริง{{nbsp}}ๆ}} แต่ในบางกรณีก็ไม่ได้<ref name=whodnavax/>
มี[[งานวิจัย]]ที่พยายามใช้[[เทคโนโลยี]]นี้เพื่อป้องกัน[[โรค]]ใน[[มนุษย์]] รวมทั้งโรคจาก[[ไวรัส]] [[แบคทีเรีย]] [[ปรสิต]] และ[[มะเร็ง]]<ref name="germs" />
ในเดือนสิงหาคม 2021 [[รัฐบาลอินเดีย]]ได้อนุมัติให้ใช้{{nowrap |[[วัคซีนโควิด-19]]}} ชนิดดีเอ็นเอคือ ZyCoV-D ในภาวะฉุกเฉิน
บรรทัด 22:
วัคซีนธรรมดาอาจมีส่วนประกอบเป็น[[แอนติเจน]]โดยเฉพาะ{{nbsp}}ๆ จาก[[จุลชีพก่อโรค]] หรืออาจเป็น[[วัคซีนเชื้อลดฤทธิ์|ไวรัสก่อโรคที่ลดฤทธิ์]]ซึ่งกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันตอบสนองต่อจุลชีพก่อโรคที่เป็นเป้าหมาย
วัคซีนดีเอ็นเอเป็นวัคซีนสารพันธุกรรม (genetic vaccine) เพราะมีข้อมูลทางพันธุกรรม (เป็น[[ดีเอ็นเอ]]หรือ[[อาร์เอ็นเอ]]) ที่เข้ารหัสโปรตีนของไวรัสที่มีภาวะเป็นแอนติเจน
คือวัคซีนดีเอ็นเอมี{{nowrap |ดีเอ็นเอ}}ที่เข้ารหัสแอนติเจนโดยเฉพาะ{{nbsp}}ๆ จากจุลชีพก่อโรค
เมื่อฉีดวัคซีนดีเอ็นเอเข้าไปในร่างกายแล้วเข้าไปในเซลล์ กระบวนการธรรมชาติของเซลล์ก็จะ[[ชีวสังเคราะห์|สังเคราะห์โปรตีน]]อาศัยรหัสพันธุกรรมในพลาสมิดที่นำเข้าไปในเซลล์
เพราะโปรตีนเช่นนี้มีลำดับ[[กรดอะมิโน]]ที่เป็นลักษณะพิเศษของแบคทีเรียหรือไวรัส จึงทำให้ร่างกายรู้ได้ว่าเป็นสิ่งแปลกปลอม เมื่อเซลล์ผลิตโปรตีนเช่นนี้แล้วส่งไปที่ผิวเซลล์ ระบบภูมิคุ้มกันก็จะรู้ตัวแล้วเริ่มตอบสนอง<ref name="Alarcon1999">
{{cite book | last1 = Alarcon | first1 = JB | last2 = Waine | first2 = GW | last3 = McManus | first3 = DP | volume = 42 | pages = 343-410 | year = 1999 | pmid = 10050276 | doi = 10.1016/S0065-308X(08)60152-9 | isbn = 9780120317424 | series = Advances in Parasitology | title = Advances in Parasitology Volume 42 | chapter = DNA Vaccines: Technology and Application as Anti-parasite and Anti-microbial Agents }}</ref><ref name="Robinson2000">
บรรทัด 55:
* ไม่เสี่ยงทำให้ติดโรค<ref name="Robinson2000" />
* โมเลกุลทั้งแบบ [[MHC]] class I และ MHC class II จะเป็นตัวนำแอนติเจนไปแสดงที่ผิวเซลล์<ref name="Robinson2000" />
* สามารถเลือกชักนำให้[[เซลล์ที]] แบบ TH1 หรือ TH2 ตอบสนอง<ref name="Robinson2000" />
* ภูมิคุ้มกันจะตอบสนองต่อแอนติเจนโดยเฉพาะอย่างจำเพาะ
* พัฒนาและผลิตได้ง่ายกว่า<ref name="Robinson2000" />
* เก็บและขนส่งได้โดยไม่เสื่อม
* มีราคาไม่แพง
* ไม่ต้องสังเคราะห์[[เพปไทด์]] ไม่ต้องเพาะหรือทำโปรตีนรวมใหม่ (recombinant protein) ให้บริสุทธิ์ หรือใช้ยาเติม[[สารเสริมภูมิคุ้มกัน]]ที่เป็นพิษ<ref name="Sedegah1994">{{cite journal | last1 = Sedegah | first1 = M | last2 = Hedstrom | first2 = R | last3 = Hobart | first3 = P | last4 = Hoffman | first4 = SL | title = Protection against malaria by immunization with plasmid DNA encoding circumsporozoite protein | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 91 | issue = 21 | pages = 9866-70 | date = October 1994 | pmid = 7937907 | pmc = 44918 | doi = 10.1073/pnas.91.21.9866 | jstor = 2365723 | bibcode = 1994PNAS...91.9866S }}</ref>
* สาร[[อิมมูโนเจน]]/[[แอนติเจน]]ที่ชักนำให้เกิดสามารถคงจะมีอยู่เป็นระยะเวลานาน<ref name="Alarcon1999" />
* ร่างกาย (in vivo) เป็นผู้ผลิตโปรตีนเอง จึงได้โปรตีนที่เหมือนธรรมชาติมากกว่า<ref name="Alarcon1999" />{{Div col end}}
 
บรรทัด 67:
* จำกัดใช้กับสาร[[อิมมูโนเจน]] (immunogen) หรือ[[แอนติเจน]]ที่เป็น[[โปรตีน]] ไม่สามารถใช้กับแอนติเจนที่ไม่ใช่โปรตีน เช่น [[พอลิแซ็กคาไรด์]]ของ[[แบคทีเรีย]]
* ร่างกายอาจตอบสนองต่อโปรตีนของแบคทีเรียหรือของปรสิตอย่างไม่คาดหมาย<ref name="Robinson2000" />
* ยาฉีดจมูกแบบอนุภาคนาโนซึ่งเป็นพลาสมิดประกอบด้วยดีเอ็นเออาจมีผลต่อเซลล์ชนิดอื่นซึ่งไม่ได้ตั้งใจ เช่นเซลล์สมอง<ref name="harmon14">{{cite journal | doi = 10.1038/gt.2014.28 | title = Intranasal administration of plasmid DNA nanoparticles yields successful transfection and expression of a reporter protein in rat brain | year = 2014 | last1 = Harmon | first1 = B. T. | last2 = Aly | first2 = A. E. | last3 = Padegimas | first3 = L. | last4 = Sesenoglu-Laird | first4 = O. | last5 = Cooper | first5 = M. J. | last6 = Waszczak | first6 = B. L. | journal = Gene Therapy | volume = 21 | issue = 5 | pages = 514-521 | pmid = 24670994 | s2cid = 5560134 }}</ref>
* วัคซีนต่าง{{nbsp}}ๆ ที่เพาะด้วยสิ่งมีชีวิตอาจปนเปื้อนกันเมื่อผลิตในโรงงานเดียวกัน
 
บรรทัด 74:
วัคซีนดีเอ็นเอก่อการตอบสนองของภูมิคุ้มกันได้ดีสุดเมื่อใช้พาหะพันธุกรรมชนิดที่เซลล์[[การแสดงออกของยีน|แสดงออก]]เป็นโปรตีนได้จำนวนมากที่สุด
ปกติจะเป็น[[พลาสมิด]]อันประกอบด้วยส่วน viral [[promoter]] ที่ดีซึ่งขับ[[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|การถอดรหัส]]และ[[การแปลรหัส (พันธุศาสตร์)|การแปลรหัส]]ยีน (หรือ complementary DNA) ที่ต้องการ<ref name=Mor1995>{{cite journal | last1 = Mor | first1 = G | last2 = Klinman | first2 = DM | last3 = Shapiro | first3 = S | last4 = Hagiwara | first4 = E | last5 = Sedegah | first5 = M | last6 = Norman | first6 = JA | last7 = Hoffman | first7 = SL | last8 = Steinberg | first8 = AD | title = Complexity of the cytokine and antibody response elicited by immunizing mice with Plasmodium yoelii circumsporozoite protein plasmid DNA | journal = Journal of Immunology | volume = 155 | issue = 4 | pages = 2039-46 | date = August 1995 | pmid = 7636255 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/155/4/2039 }}</ref>
โดยอาจรวมส่วน Intron A ([[Interferon]] alfa-2b) เข้าด้วยเพื่อเพิ่มเสถียรภาพของ{{nowrap |[[เอ็มอาร์เอ็นเอ]]}}แล้วเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน<ref name=Leitner1997>{{cite journal | last1 = Leitner | first1 = WW | last2 = Seguin | first2 = MC | last3 = Ballou | first3 = WR | last4 = Seitz | first4 = JP | last5 = Schultz | first5 = AM | last6 = Sheehy | first6 = MJ | last7 = Lyon | first7 = JA | title = Immune responses induced by intramuscular or gene gun injection of protective deoxyribonucleic acid vaccines that express the circumsporozoite protein from Plasmodium berghei malaria parasites | journal = Journal of Immunology | volume = 159 | issue = 12 | pages = 6112-9 | date = December 1997 | pmid = 9550412 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/159/12/6112 }}</ref>
อนึ่ง ยังอาจรวมเอาส่วน [[termination signal]] หรือ [[polyadenylation]] ที่ขับการแสดงออกโปรตีนได้ดี เช่น ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของ[[วัว]] (bovine growth hormone) หรือ beta globulin ของ[[กระต่าย]]<ref name=Alarcon1999 /><ref name=Robinson2000 /><ref name="Böhm1996">{{cite journal | last1 = Böhm | first1 = W | last2 = Kuhröber | first2 = A | last3 = Paier | first3 = T | last4 = Mertens | first4 = T | last5 = Reimann | first5 = J | last6 = Schirmbeck | first6 = R | title = DNA vector constructs that prime hepatitis B surface antigen-specific cytotoxic T lymphocyte and antibody responses in mice after intramuscular injection | journal = Journal of Immunological Methods | volume = 193 | issue = 1 | pages = 29-40 | date = June 1996 | pmid = 8690928 | doi = 10.1016/0022-1759(96)00035-X }}</ref>
พาหะซึ่งมียีนหลายยีนที่ต้องการซึ่งเรียกว่า polycistronic vector บางครั้งจะทำขึ้นเพื่อให้แสดงออกอิมมูโนเจนมากกว่าหนึ่งอย่าง หรือให้แสดงออกอิมมูโนเจนบวกกับโปรตีนร่วมกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (immunostimulatory protein)<ref name=Lewis1999>{{cite book | last1 = Lewis | first1 = PJ | last2 = Babiuk | first2 = LA | title = DNA vaccines: a review | journal = Advances in Virus Research | volume = 54 | pages = 129-88 | year = 1999 | pmid = 10547676 | doi = 10.1016/S0065-3527(08)60367-X | url = https://books.google.com/books?id=lrMc3G9nIpkC&q=lewis&pg=PA129 | publisher = Academic Press | isbn = 978-0-12-039854-6 }}</ref>
 
เพราะพลาสมิดเป็นพาหะสามารถบรรจุรหัสพันธุกรรมได้เพียง ~200 [[Kbp]] การออกแบบให้สามารถแสดงออกโปรตีนได้ดีสุดจึงจำเป็น<ref name=Lewis1999 />
วิธีหนึ่งก็คือปรับใช้[[โคดอน]]ภายในเอ็มอาร์เอ็นเอของจุลชีพก่อโรคให้ได้ดีสุดสำหรับเซลล์[[ยูแคริโอต]]
คือ จุลชีพก่อโรคมักมี GC-content (guanine-cytosine content) ในอัตราที่ต่างกับสิ่งมีชีวิตที่เป็นเป้า ดังนั้น การเปลี่ยนลำดับยีนของ[[อิมมูโนเจน]]ให้มีโคดอนเหมือนกับที่มักเกิดในสิ่งมีชีวิตอาจทำให้แสดงออกโปรตีนได้ดีกว่า<ref name=Andre1998>{{cite journal | last1 = André | first1 = S | last2 = Seed | first2 = B | last3 = Eberle | first3 = J | last4 = Schraut | first4 = W | last5 = Bültmann | first5 = A | last6 = Haas | first6 = J | title = Increased immune response elicited by DNA vaccination with a synthetic gp120 sequence with optimized codon usage | journal = Journal of Virology | volume = 72 | issue = 2 | pages = 1497-503 | date = February 1998 | pmid = 9445053 | pmc = 124631 | doi = 10.1128/JVI.72.2.1497-1503.1998 }}</ref>
บรรทัด 84:
ประเด็นที่ต้องพิจารณาอีกอย่างก็คือการเลือกลำดับ [[promoter]]
นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้ลำดับยีนที่เรียกว่า SV40 promoter ที่อาจก่อ[[เนื้องอก]]ใน[[ลิง]]และ[[มนุษย์]] จนกระทั่งพบว่าส่วน promoter จากไวรัสก่อมะเร็งไก่ คือ Rous Sarcoma Virus มีอัตราการแสดงออกที่สูงกว่า<ref name=Alarcon1999 />
ต่อมาไม่นานมานี้จึงพบว่า สามารถเพิ่มอัตราการแสดงออกและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในสัตว์ตัวแบบโดยใช้ส่วน immediate-early (MIE) promoter ของ[[ซัยโตเมกาโลไวรัส]] ({{abbr |CMV| cytomegalovirus }}) และใช้ cis-acting transcriptional element (หรือ cis-regulatory element) จากรีโทรไวรัส (retrovirus)<ref name=Muthumani1998>{{cite journal | last1 = Muthumani | first1 = K | last2 = Zhang | first2 = D | last3 = Dayes | first3 = NS | last4 = Hwang | first4 = DS | last5 = Calarota | first5 = SA | last6 = Choo | first6 = AY | last7 = Boyer | first7 = JD | last8 = Weiner | first8 = DB | title = Novel engineered HIV-1 East African Clade-A gp160 plasmid construct induces strong humoral and cell-mediated immune responses in vivo | journal = Virology | volume = 314 | issue = 1 | pages = 134-46 | date = September 2003 | pmid = 14517067 | doi = 10.1016/S0042-6822(03)00459-8 }}</ref>
วิธีเพิ่มอัตราการแสดงออกของโปรตีนอื่น{{nbsp}}ๆ รวมทั้งการการแทรกลำดับ enhancer sequence, อินทรอนสังเคราะห์ (synthetic introns), ลำดับ tripartite leader (TPL) จาก[[อะดีโนไวรัส]] และการเปลี่ยนปรับปรุงส่วน [[polyadenylation]] และ [[termination signal]]<ref name=Alarcon1999 />
ตัวอย่างพลาสมิดสำหรับวัคซีนดีเอ็นเออย่างหนึ่งก็คือ pVAC (ของบริษัท InvivoGen) ซึ่งใช้ส่วน SV40 promoter
บรรทัด 95:
=== กลไกของพลาสมิด ===
เมื่อพลาสมิดเข้าไปใน[[นิวเคลียสของเซลล์]]แล้ว มันก็จะถอดรหัสเป็น[[เพปไทด์]]ซึ่งเป็น[[แอนติเจน]]แปลกปลอม
โมเลกุลคอมเพล็กซ์ [[major histocompatibility complex]] (MHC) ทั้ง classesclass I และ class II ของเซลล์ก็จะนำแอนติเจนไปแสดงที่[[ผิวเซลล์]]
[[antigen-presenting cell|เซลล์ที่แสดงแอนติเจน]] (antigen-presenting cell) ก็จะเคลื่อนย้ายไปยัง[[ต่อมน้ำเหลือง]] แล้วแสดงแอนติเจนและโมเลกุลที่ช่วยกระตุ้น เป็น[[การส่งสัญญาณของเซลล์|การส่งสัญญาณ]]ให้กับ[[เซลล์ที]] แล้วเริ่มการตอบสนองของภูมิต้านทาน<ref>{{cite journal | last1 = Kutzler | first1 = MA | last2 = Weiner | first2 = DB | title = DNA vaccines: ready for prime time? | journal = Nature Reviews. Genetics | volume = 9 | issue = 10 | pages = 776-88 | date = October 2008 | pmid = 18781156 | pmc = 4317294 | doi = 10.1038/nrg2432 }}</ref>
 
=== รูปแบบโปรตีน/ดีเอ็นเอ ===
สาร[[อิมมูโนเจน]]สามารถส่งเข้าไปยังส่วนโดยเฉพาะ{{nbsp}}ๆ ของเซลล์เพื่อเพิ่มการตอบสนองของ[[แอนติบอดี]]หรือของ[[เซลล์ที]]ที่ฆ่าเซลล์ (cytotoxic T-cell)
แอนติเจนที่หลั่งออกหรือยึดอยู่กับ[[เยื่อหุ้มเซลล์]]จะกระตุ้นการตอบสนองของแอนติบอดีได้ดีกว่าแอนติเจนที่อยู่ใน[[ไซโทซอล]] การตอบสนองของเซลล์ทีที่ฆ่าเซลล์อาจเพิ่มได้โดยปรับให้แอนติเจนสลายตัวใน[[ไซโทพลาซึม]]แล้วเข้าสู่กระบวนการส่งแอนติเจนไปที่ผิวเซลล์ของ [[major histocompatibility complex]] (MHC) กลุ่ม 1<ref name=Robinson2000 />
ซึ่งปกติทำโดยเพิ่ม[[ยูบิควิติน]] (ubiquitin) ไปที่ยีนโปรตีนด้าน [[Nเอ็น-terminalเทอร์มินัส]]<ref name=Rodriguez1997>
{{cite journal | last1 = Rodriguez | first1 = F | last2 = Zhang | first2 = J | last3 = Whitton | first3 = JL | title = DNA immunization: ubiquitination of a viral protein enhances cytotoxic T-lymphocyte induction and antiviral protection but abrogates antibody induction | journal = Journal of Virology | volume = 71 | issue = 11 | pages = 8497-503 | date = November 1997 | pmid = 9343207 | pmc = 192313 | doi = 10.1128/JVI.71.11.8497-8503.1997 }}</ref><ref name=Tobery1997>
{{cite journal | last1 = Tobery | first1 = TW | last2 = Siliciano | first2 = RF | title = Targeting of HIV-1 antigens for rapid intracellular degradation enhances cytotoxic T lymphocyte (CTL) recognition and the induction of de novo CTL responses in vivo after immunization | journal = The Journal of Experimental Medicine | volume = 185 | issue = 5 | pages = 909-20 | date = March 1997 | pmid = 9120397 | pmc = 2196169 | doi = 10.1084/jem.185.5.909 }}</ref><ref>
บรรทัด 142:
=== ELI immunization ===
expression library immunization เป็นการสร้างเวกเตอร์ที่ได้โคลนยีนต่าง{{nbsp}}ๆ อันแสดงออกโปรตีนแต่ละชนิดของจุลชีพก่อโรคแล้วฉีดเป็นวัคซีน
เมื่อใช้เทคนิคนี้ ก็อาจสามารถส่งยีนของจุลชีพทั้งหมดไปที่เซลล์ได้พร้อม{{nbsp}}ๆ กัน ซึ่งอาจมีประโยชน์สำหรับจุลชีพก่อโรคที่นำไป[[วัคซีนเชื้อลดฤทธิ์|ลดฤทธิ์]]หรือเพาะได้ยาก<ref name="Alarcon1999" />
วิธีนี้ยังสามารถใช้ระบุว่า ยีนตัวไหนของจุลชีพทำให้คุ้มกันตอบสนองแล้วป้องกันโรคได้
ซึ่งใช้ตรวจสอบอย่างสำเร็จแล้วกับ[[แบคทีเรีย]] ''[[Mycoplasma]] pulmonis'' ซึ่งเป็นจุลชีพก่อโรคปอดที่มี[[จีโนม]]ค่อนข้างเล็กในหนู
บรรทัด 175:
| colspan = 2| Cytofectin-mediated
| [[ไลโปโซม]]มีประจุบวก, ไมโครสเฟียร์, [[เวกเตอร์อะดีโนไวรัส]]ลูกผสม, เวกเตอร์ Shigella [[วัคซีนเชื้อลดฤทธิ์|ที่ลดฤทธิ์แล้ว]], วัคซีนแบบพ่นที่ประกอบด้วย[[ลิพิด]]มีประจุบวก
| ในกล้ามเนื้อ, ผ่านเส้นเลือดดำ (เพื่อให้เกิดผลที่เนื้อเยื่อทั่วร่างกาย), เข้าช่องท้อง, ยากินเพื่อให้เกิดผลที่เยื่อเมือกของลำไส้, ยาพ่นที่ให้เกิดผลที่เยื่อเมือกของจมูกหรือของปอด
| ต่าง{{nbsp}}ๆ กัน
|}
บรรทัด 226:
วิธีการส่งยาเป็นตัวกำหนดขนาดยาที่ต้องใช้เพื่อให้เกิดภูมิต้านทานโรค
การฉีดยาในน้ำเกลือจะต้องใช้ดีเอ็นเอปริมาณต่าง{{nbsp}}ๆ กัน เริ่มตั้งแต่ {{nowrap |10 [[ไมโครกรัม]]}}จนถึง {{nowrap |1 [[มิลลิกรัม]]}} เทียบกับการใช้[[ปืนยิงยีน]]ที่ใช้น้อยกว่า {{nowrap |100-1,000 เท่า}}<ref name="Fynan1993">{{cite journal | last1 = Fynan | first1 = EF | last2 = Webster | first2 = RG | last3 = Fuller | first3 = DH | last4 = Haynes | first4 = JR | last5 = Santoro | first5 = JC | last6 = Robinson | first6 = HL | title = DNA vaccines: protective immunizations by parenteral, mucosal, and gene-gun inoculations | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 90 | issue = 24 | pages = 11478-82 | date = December 1993 | pmid = 8265577 | pmc = 48007 | doi = 10.1073/pnas.90.24.11478 | bibcode = 1993PNAS...9011478F }}</ref>
แต่แม้ปกติแล้วต้องใช้ {{nowrap |0.2-20 ไมโครกรัม}} แต่ก็มีรายงานว่าใช้น้อยถึง {{nowrap |16 [[นาโนกรัม]]}}อยู่เหมือนกัน<ref name="Alarcon1999" />
โดยจะต่าง{{nbsp}}ๆ กันขึ้นอยู่กับฉีดให้สัตว์ชนิดไหน
ตัวอย่างเช่น [[หนู]]ใช้ดีเอ็นเอประมาณ 10{{nbsp}}เท่าน้อยกว่า[[ไพรเมต]]<ref name="Robinson2000" />
การฉีดผสมน้ำเกลือต้องใช้ดีเอ็นเอมากกว่าเพราะส่งดีเอ็นเอเข้าไปยังบริเวณช่องว่างนอกเซลล์ของ[[เนื้อเยื่อ]]ที่เป็นเป้า (ปกติจะเป็น[[กล้ามเนื้อ]]) แล้วต้องผ่านอุปสรรคต่าง{{nbsp}}ๆ (เช่น ชั้น basal lamina ของ[[สารเคลือบเซลล์]] และ[[เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน]]จำนวนมาก) ก่อนที่จะเข้าไปในเซลล์ได้ เทียบกับ[[ปืนยิงยีน]]ที่ยิงดีเอ็นเอเข้าไปในเซลล์โดยตรง จึงเสียดีเอ็นเอน้อยกว่า<ref name="Alarcon1999" /><ref name="Robinson2000" />
 
== การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน ==
บรรทัด 237:
เซลล์ซึ่งเป็นพิษต่อเซลล์จะเข้าทำลายเซลล์อื่น{{nbsp}}ๆ ซึ่งมีโมเลกุลแปลกปลอมหรือผิดปกติที่ผิวเซลล์
ส่วน{{nowrap |เซลล์ทีเฮลเปอร์}} หรือเซลล์ Th จะประสานการตอบสนองของภูมิคุ้มกันโดยสื่อสารกับเซลล์อื่น{{nbsp}}ๆ
ในกรณีโดยมาก เซลล์ทีจะรู้จักแอนติเจนก็ต่อเมื่อแอนติเจนถูกได้ส่งมาที่ผิวเซลล์โดยโมเลกุล [[MHC]] (major histocompatibility complex) ของร่างกายเองเท่านั้น]]
วัคซีนดีเอ็นเอก่อการตอบสนองของ[[เซลล์ทีเฮลเปอร์]] (T<sub>H</sub>) หลายรูปแบบรวมทั้งการเพิ่ม[[เม็ดเลือดขาว]]อย่างรวดเร็ว (lymphoproliferation) และการตอบสนองทาง[[ไซโตไคน์]]ในรูปแบบต่าง{{nbsp}}ๆ
ข้อดีเยี่ยมของวัคซีนดีเอ็นเอก็คือสามารถจัดให้ก่อการตอบสนองของเซลล์ทีชนิด TH1 หรือ TH2 ก็ได้<ref name=Feltquate1997>{{cite journal | last1 = Feltquate | first1 = DM | last2 = Heaney | first2 = S | last3 = Webster | first3 = RG | last4 = Robinson | first4 = HL | title = Different T helper cell types and antibody isotypes generated by saline and gene gun DNA immunization | journal = Journal of Immunology | volume = 158 | issue = 5 | pages = 2278-84 | date = March 1997 | pmid = 9036975 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/158/5/2278 }}</ref>
บรรทัด 243:
 
==== การตอบสนองของเซลล์ทีอื่น{{nbsp}}ๆ ====
ชนิดของเซลล์ทีที่ตอบสนองจะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง{{nbsp}}ๆ รวมทั้งการส่งวัคซีน ชนิดของ[[อินมูโนเจน]]ที่แสดงออก รวมถึงการกำหนดเป้าส่งวัคซีนเข้าไปยังช่องภายในต่าง{{nbsp}}ๆ ในต่อมน้ำเหลือง (lymphoid compartment) โดยเฉพาะ{{nbsp}}ๆ<ref name=Alarcon1999 /><ref name=References1996>{{cite journal | last1 = Boyle | first1 = CM | last2 = Morin | first2 = M | last3 = Webster | first3 = RG | last4 = Robinson | first4 = HL | title = Role of different lymphoid tissues in the initiation and maintenance of DNA-raised antibody responses to the influenza virus H1 glycoprotein | journal = Journal of Virology | volume = 70 | issue = 12 | pages = 9074-8 | date = December 1996 | pmid = 8971047 | pmc = 191015 | doi = 10.1128/JVI.70.12.9074-9078.1996 }}</ref>
ทั่วไปแล้ว การฉีดผสมน้ำเกลือ (ไม่ว่าจะเข้าในกล้ามเนื้อหรือเข้าผิวหนัง) มักก่อการตอบสนองของเซลล์ทีชนิด TH1 และการใช้ปืนยิงยีนจะทำให้เซลล์ TH2 ตอบสนอง<ref name=Feltquate1997 /><ref name=References1996 />
นี่เป็นจริงสำหรับแอนติเจนที่จับกับ[[เยื่อหุ้มเซลล์]]และแอนติเจนในพลาสมา[[น้ำเลือด]] แต่ไม่จริงสำหรับแอนติเจนที่หลั่งออกมา ซึ่งมักจะก่อการตอบสนองของ TH2 ไม่ว่าจะส่งวัคซีนด้วยวิธีใด{{nbsp}}ๆ<ref name="Sällberg1997">{{cite journal | last1 = Sällberg | first1 = M | last2 = Townsend | first2 = K | last3 = Chen | first3 = M | last4 = O'Dea | first4 = J | last5 = Banks | first5 = T | last6 = Jolly | first6 = DJ | last7 = Chang | first7 = SM | last8 = Lee | first8 = WT | last9 = Milich | first9 = DR | title = Characterization of humoral and CD4+ cellular responses after genetic immunization with retroviral vectors expressing different forms of the hepatitis B virus core and e antigens | journal = Journal of Virology | volume = 71 | issue = 7 | pages = 5295-303 | date = July 1997 | pmid = 9188598 | pmc = 191766 | doi = 10.1128/JVI.71.7.5295-5303.1997 }}</ref>
 
ปกติแล้ว ชนิดเซลล์ทีที่ตอบสนองจะคงยืนเป็นระยะยาวโดยไม่เปลี่ยนไปเมื่อติดโรค หรือแม้เมื่อก่อภูมิคุ้มกันโดยวิธีที่ปกติจะทำให้เซลล์ทีอีกอย่างตอบสนองในบุคคลที่ไม่เคยติดโรคหรือได้วัคซีนมาก่อน<ref name=Feltquate1997 /><ref name=References1996 />
บรรทัด 255:
แต่หลักฐานการทดลองกลับไม่แสดงว่าขนาดยามีผลต่อชนิดเซลล์ทีที่ตอบสนอง<ref name=Feltquate1997 />
แต่ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนสภาพ (differentiation) ของเซลล์ที่แสดงแอนติเจนคือ [[antigen-presenting cell]] (APC)
{{nowrap |[[เซลล์เดนไดรต์]]}} (dendritic cell ตัวย่อ DC) ซึ่งเป็น APC ชนิดหนึ่งอาจเปลี่ยนสภาพแล้วหลั่ง[[อินเตอร์ลิวคิน]]ชนิด IL-12 ซึ่งสนับสนุนพัฒนาการของเซลล์ทีแบบ TH1 หรือหลั่งชนิด IL-4 ซึ่งสนับสนุนเซลล์แบบ TH2<ref name=Banchereau1998>{{cite journal | last1 = Banchereau | first1 = J | last2 = Steinman | first2 = RM | s2cid = 4388748 | title = Dendritic cells and the control of immunity | journal = Nature | volume = 392 | issue = 6673 | pages = 245-52 | date = March 1998 | pmid = 9521319 | doi = 10.1038/32588 | bibcode = 1998Natur.392..245B }}</ref>
คือ เมื่อใช้วิธีการฉีด pDNA เข้าไปในร่างกาย {{abbr |DC| dendritic cell }} ก็จะกลืนมันเข้าไปผ่านกระบวนการ[[เอนโดไซโทซิส]] ซึ่งจะกะตุ้นให้ให้เซลล์เปลี่ยนสภาพเพื่อผลิต[[ไซโตไคน์]]ชนิด TH1 (คือ IL-12)<ref name=Jakob1998>{{cite journal | last1 = Jakob | first1 = T | last2 = Walker | first2 = PS | last3 = Krieg | first3 = AM | last4 = Udey | first4 = MC | last5 = Vogel | first5 = JC | title = Activation of cutaneous dendritic cells by CpG-containing oligodeoxynucleotides: a role for dendritic cells in the augmentation of Th1 responses by immunostimulatory DNA | journal = Journal of Immunology | volume = 161 | issue = 6 | pages = 3042-9 | date = September 1998 | pmid = 9743369 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/161/6/3042 }}</ref>
เทียบกับปืนยิงยีนที่ส่งดีเอ็นเอเข้าไปในเซลล์โดยตรง จึงไม่ต้องกระตุ้น TH1 เยี่ยงนี้
 
บรรทัด 273:
เซลล์ทีที่ฆ่าเซลล์สามารถรู้จำ[[เพปไทด์]]ขนาดเล็ก (เป็น[[กรดอะมิโน]] 8-10 หน่วย) ที่เข้าคอมเพล็กซ์กับโมเลกุล [[MHC]] class I<ref name=Restifo1995 />
เป็นเพปไทด์อนุพัทธ์จากโปรตีนใน[[ไซโทซอล]]ที่ได้สลายแล้วส่งไปให้โมเลกุล MHC class I ที่ยังใหม่ (nascent) ภายใน[[ร่างแหเอนโดพลาซึม]] ({{abbr |ER| endoplasmic reticulum }})<ref name=Restifo1995>{{cite journal | last1 = Restifo | first1 = NP | last2 = Bacík | first2 = I | last3 = Irvine | first3 = KR | last4 = Yewdell | first4 = JW | last5 = McCabe | first5 = BJ | last6 = Anderson | first6 = RW | last7 = Eisenlohr | first7 = LC | last8 = Rosenberg | first8 = SA | last9 = Bennink | first9 = JR | title = Antigen processing in vivo and the elicitation of primary CTL responses | journal = Journal of Immunology | volume = 154 | issue = 9 | pages = 4414-22 | date = May 1995 | pmid = 7722298 | pmc = 1952186 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/154/9/4414 }}</ref>
การส่งผลิตภัณฑ์ยีนเข้าไปที่ ER โดยตรง (โดยสอดใส่ลำดับ ER insertion signal sequence ทางด้าน [[Nเอ็น-terminusเทอร์มินัส]]) สามารถเพิ่มการตอบสนองของ CTL
ซึ่งประสบความสำเร็จแล้วกับไวรัสลูกผสม vaccinia ที่[[แสดงออกโปรตีน]][[ไข้หวัดใหญ่]]<ref name=Restifo1995 />
โดยหลักการก็ควรจะใช้ได้กับวัคซีนดีเอ็นเอด้วย
การจัดให้แอนติเจนเสื่อมภายในเซลล์ (และดังนั้น จึงสามารถเข้าไปใน[[วิถีเมแทบอลิซึม]] MHC class I pathway) โดยเพิ่ม[[ยูบิควิติน]]ซึ่งเป็นลำดับ[[เพปไทด์ส่งสัญญาณ]] หรือโดยกลายพันธุ์ลำดับเพปไทด์ส่งสัญญาณอื่น{{nbsp}}ๆ พบว่ามีประสิทธิภาพเพิ่มการตอบสนองของ CTL<ref name=Tobery1997 />
การตอบสนองของ CTL ยังอาจเพิ่มได้ด้วยการฉีดโมเลกุลที่ร่วมกระตุ้น {{nowrap |(co-stimulatory)}} วัคซีนดีเอ็นเอ โมเลกุลเช่น B7-1 หรือ B7-2 เพื่อต่อต้าน[[นิวคลีโอโปรตีน]]ของ{{nowrap |ไข้หวัดใหญ่}}<ref name=Fu1997/><ref name=Iwasaki1997>{{cite journal | last1 = Iwasaki | first1 = A | last2 = Stiernholm | first2 = BJ | last3 = Chan | first3 = AK | last4 = Berinstein | first4 = NL | last5 = Barber | first5 = BH | title = Enhanced CTL responses mediated by plasmid DNA immunogens encoding costimulatory molecules and cytokines | journal = Journal of Immunology | volume = 158 | issue = 10 | pages = 4591-601 | date = May 1997 | pmid = 9144471 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/158/10/4591 }}</ref>
หรือ GM-CSF เพื่อต่อต้าน[[ปรสิต]][[มาลาเรีย]] ''[[Plasmodium]] yoelii'' ของหนู<ref name=Weiss1998>{{cite journal | last1 = Weiss | first1 = WR | last2 = Ishii | first2 = KJ | last3 = Hedstrom | first3 = RC | last4 = Sedegah | first4 = M | last5 = Ichino | first5 = M | last6 = Barnhart | first6 = K | last7 = Klinman | first7 = DM | last8 = Hoffman | first8 = SL | title = A plasmid encoding murine granulocyte-macrophage colony-stimulating factor increases protection conferred by a malaria DNA vaccine | journal = Journal of Immunology | volume = 161 | issue = 5 | pages = 2325-32 | date = September 1998 | pmid = 9725227 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/161/5/2325 }}</ref>
การฉีดวัคซีนดีเอ็นเอร่วมกับพลาดมิดที่เข้ารหัสโมเลกุลร่วมกระตุ้นเช่น IL-12 และ TCA3 พบว่าเพิ่มฤทธิ์ของ CTL ต่อแอนติเจนชนิดนิวคลีโอโปรตีนของ [[HIV-1]] และ[[ไข้หวัดใหญ่]]<ref name=Iwasaki1997 /><ref name=Tsuji1997>{{cite journal | last1 = Tsuji | first1 = T | last2 = Hamajima | first2 = K | last3 = Fukushima | first3 = J | last4 = Xin | first4 = KQ | last5 = Ishii | first5 = N | last6 = Aoki | first6 = I | last7 = Ishigatsubo | first7 = Y | last8 = Tani | first8 = K | last9 = Kawamoto | first9 = S | last10 = Nitta | first10 = Y | last11 = Miyazaki | first11 = J | last12 = Koff | first12 = WC | last13 = Okubo | first13 = T | last14 = Okuda | first14 = K | title = Enhancement of cell-mediated immunity against HIV-1 induced by coinnoculation of plasmid-encoded HIV-1 antigen with plasmid expressing IL-12 | journal = Journal of Immunology | volume = 158 | issue = 8 | pages = 4008-13 | date = April 1997 | pmid = 9103472 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/158/8/4008 | display-authors = 8 }}</ref>
บรรทัด 299:
วัคซีนดีเอ็นเอจะเพิ่มการตอบสนองทางสารภูมิต้านทานได้ช้ากว่าการติดเชื้อหรือโปรตีนลูกผสม
โดยอาจต้องใช้เวลานานถึง {{nowrap |12 สัปดาห์}} แต่การฉีดบูสต์ก็ลดช่วงเวลานี้ได้เหมือนกัน
การตอบสนองเยี่ยงนี้น่าจะเป็นเพราะระดับแอนติเจนที่แสดงออกได้น้อยเป็นเวลาหลายอาทิตย์ ซึ่งต้องสนับสนุนการตอบสนองของสารภูมิต้านทั้งในระยะปฐมภูมิและทุติยภูมิ
 
มีการฉีดวัคซีนดีเอ็นเอที่แสดงออก[[เปลือกหุ้มไวรัส|โปรตีนเปลือก]] (envelope protein) ทั้งขนาดเล็กขนาดกลางของไวรัสตับอักเสบบีให้แก่ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง
เส้น 355 ⟶ 356:
ตอนนั้นก็ยังคาดว่าเป็นเซลล์พิเศษเพราะมี [[T-tubule]] เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่
ต่อมาเมื่อตรวจสอบด้วย[[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน]]จึงเสนอว่า การดูดซึมดีเอ็นเอเข้าในเซลล์จะเกิดผ่านโครงสร้าง [[caveolae]] (หรือ non-clathrin coated pit) ที่[[เยื่อหุ้มเซลล์]]<ref name=Anderson1992>{{cite journal | last1 = Anderson | first1 = RG | last2 = Kamen | first2 = BA | last3 = Rothberg | first3 = KG | last4 = Lacey | first4 = SW | title = Potocytosis: sequestration and transport of small molecules by caveolae | journal = Science | volume = 255 | issue = 5043 | pages = 410-1 | date = January 1992 | pmid = 1310359 | doi = 10.1126/science.1310359 | bibcode = 1992Sci...255..410A }}</ref>
แต่หลังจากนั้นกลับพบว่า เซลล์อื่น{{nbsp}}ๆ (เช่น [[keratinocyte]], {{nowrap |[[เซลล์สร้างเส้นใย]]}} และเซลล์[[เนื้อเยื่อบุผิว]]ชนิด Langerhans cells[[เซลล์ลังเกอร์ฮันส์]]) ก็สามารถนำดีเอ็นเอเข้าในเซลล์เหมือนกัน<ref name=Raz1996/><ref name=Casares1997>{{cite journal | last1 = Casares | first1 = S | last2 = Inaba | first2 = K | last3 = Brumeanu | first3 = TD | last4 = Steinman | first4 = RM | last5 = Bona | first5 = CA | title = Antigen presentation by dendritic cells after immunization with DNA encoding a major histocompatibility complex class II-restricted viral epitope | journal = The Journal of Experimental Medicine | volume = 186 | issue = 9 | pages = 1481-6 | date = November 1997 | pmid = 9348305 | pmc = 2199124 | doi = 10.1084/jem.186.9.1481 }}</ref>
กลไกการนำดีเอ็นเอเข้าไปในเซลล์จึงยังไม่ชัดเจน
 
เส้น 361 ⟶ 362:
หรือ สอง เป็นการรับดีเอ็นเอเข้าไปผ่าน[[หน่วยรับ]]โดยเฉพาะ{{nbsp}}ๆ<ref name=Bennett1985>{{cite journal | last1 = Bennett | first1 = RM | last2 = Gabor | first2 = GT | last3 = Merritt | first3 = MM | title = DNA binding to human leukocytes. Evidence for a receptor-mediated association, internalization, and degradation of DNA | journal = The Journal of Clinical Investigation | volume = 76 | issue = 6 | pages = 2182-90 | date = December 1985 | pmid = 3001145 | pmc = 424340 | doi = 10.1172/JCI112226 }}</ref>
ซึ่งอาจรวม หน่วยรับที่ผิวเซลล์ขนาด {{nowrap |30 [[กิโลดัลตัน]]}} หรือหน่วยรับของ[[แมคโครฟาจ]]
หน่วยรับ 30 กิโลดัลตัน จะเข้ายึดอย่างเฉพาะเจาะจงกับส่วนดีเอ็นเอขนาด 4,500 [[คู่เบส (อณูพันธุศาสตร์)|bp]] (แล้วรับเข้าไปในเซลล์) โดยหน่วยรับพบอยู่ที่ [[antigen-presenting cell]] และ[[เซลล์ที]]
ส่วนหน่วยรับของแมคโครฟาจสามารถจับกับ[[มาโครโมเลกุล]]หลายชนิด รวมทั้ง{{nowrap |[[โพลีไรโบนิวคลีโอไทด์]]}} (polyribonucleotide) ซึ่งเป็นหน่วยโครงสร้างพื้นฐานของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ และดังนั้น จึงอาจเป็นตัวนำดีเอ็นเอเข้าไปในเซลล์<ref name=Bennett1985 /><ref name=Bennet1988>{{cite journal | last1 = Bennet | first1 = RM | last2 = Hefeneider | first2 = SH | last3 = Bakke | first3 = A | last4 = Merritt | first4 = M | last5 = Smith | first5 = CA | last6 = Mourich | first6 = D | last7 = Heinrich | first7 = MC | title = The production and characterization of murine monoclonal antibodies to a DNA receptor on human leukocytes | journal = Journal of Immunology | volume = 140 | issue = 9 | pages = 2937-42 | date = May 1988 | pmid = 2452195 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/140/9/2937 }}</ref>
การดูดซึมดีเอ็นเอผ่านหน่วยรับอาจอำนวยโดยการมีลำดับยีนที่เป็นกัวนีนต่อ{{nbsp}}ๆ กัน (polyguanylate sequence) ในดีเอ็นเอ
เส้น 370 ⟶ 371:
[[เซลล์เดนไดรต์]]
]]
งานศึกษาต่าง{{nbsp}}ๆ กับหนู[[ไคมีรา]] พบว่าเซลล์อนุพัทธ์จากเซลล์[[ไขกระดูก]]รวมทั้ง[[เซลล์เดนไดรต์]] [[แมคโครฟาจ]] และ[[เซลล์บี]]พิเศษ เป็น{{nowrap |[[เซลล์แสดงแอนติเจน]]}}ที่รวม{{nbsp}}ๆ เรียกว่า professional antigen presenting cells<ref name=Iwasaki1997 /><ref name=Corr1996>{{cite journal | last1 = Corr | first1 = M | last2 = Lee | first2 = DJ | last3 = Carson | first3 = DA | last4 = Tighe | first4 = H | title = Gene vaccination with naked plasmid DNA: mechanism of CTL priming | journal = The Journal of Experimental Medicine | volume = 184 | issue = 4 | pages = 1555-60 | date = October 1996 | pmid = 8879229 | pmc = 2192808 | doi = 10.1084/jem.184.4.1555 }}</ref>
[[เซลล์ลังเกอร์ฮันส์]]เป็นแมโครฟาจประจำเนื้อเยื่อผิวหนัง
พบว่า หลังจากใช้[[ปืนยิงยีน]]เข้าที่ผิวหนัง เซลล์ลังเกอร์ฮันส์ที่ได้ดีเอ็นเอก็จะย้ายไปที่{{nowrap |[[ต่อมน้ำเหลือง]]}}ที่อยู่ใกล้{{nbsp}}ๆ เพื่อแสดง[[แอนติเจน]]<ref name=Robinson2000 />
เทียบกับเมื่อฉีดวัคซีนในกล้ามเนื้อหรือในผิวหนัง จะเป็น{{nowrap |เซลล์เดนไดรต์}}ที่ได้{{nowrap |ดีเอ็นเอ}}แล้วย้ายไปที่ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ใกล้{{nbsp}}ๆ เพื่อแสดง[[แอนติเจน]]<ref name=Casares1997 />
โดยอาจพบแมคโครฟาจที่ได้ดีเอ็นเอในเลือดที่เวียนไปรอบในร่างกาย<ref name=Chattergoon1998>{{cite journal | last1 = Chattergoon | first1 = MA | last2 = Robinson | first2 = TM | last3 = Boyer | first3 = JD | last4 = Weiner | first4 = DB | title = Specific immune induction following DNA-based immunization through in vivo transfection and activation of macrophages/antigen-presenting cells | journal = Journal of Immunology | volume = 160 | issue = 12 | pages = 5707-18 | date = June 1998 | pmid = 9637479 | url = http://www.jimmunol.org/cgi/content/abstract/160/12/5707 }}</ref>
 
นอกจากการส่งดีเอ็นเอเข้าไปในเซลล์เดนไดรต์และแมคโครฟาจโดยตรง (direct transfection) แล้ว ยังเกิดกระบวนการ cross priming เมื่อให้วัคซีนไม่ว่าจะโดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เข้าผิวหนัง หรือผ่านปืนยิงยีน