ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 5:
'''วรรณกรรม''' ({{lang-en|literature}}) หมายถึง งานเขียนที่แต่งขึ้นหรืองานศิลปะ ที่เป็นผลงานอันเกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง นำมาบอกเล่า บันทึก ขับร้อง หรือสื่อออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว จะแบ่งวรรณกรรมเป็น 2 ประเภท คือ '''วรรณกรรมลายลักษณ์''' คือวรรณกรรมที่บันทึกเป็นตัวหนังสือ และ'''วรรณกรรมมุขปาฐะ''' อันได้แก่วรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จดบันทึก อาทิ ตำนานพื้นบ้าน
 
ด้วยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้าง ถึงประวัติ [[นิทาน]] [[ตำนาน]] [[เรื่องเล่า|เรื่อเล่า]] [[ขำขัน|ขำขัน หัวเราะ]] [[เรื่องสั้น]] [[นวนิยาย]] บทเพลง [[คำคม]] เป็นต้น
 
วรรณกรรมเป็นผลงานศิลปะที่แสดงออกด้ว่่ยด้วยการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสารเรื่องราวให้เข้าใจระหว่างมนุษย์ ภาษาเป็นสิ่งที่มนุษย์คิดค้น และสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้สื่อความหมาย เรื่องราวต่าง ๆ ภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารได้แก่
# ภาษาพูด โดยการใช้เสียง
# ภาษาเขียน โดยการใช้ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ และภาพ