ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชมพูบดีสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (26).jpg|thumb|พระเจ้าชมพูบดีเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า จิตรกรรมฝาผนัง[[วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร]]]]
[[ไฟล์:วัดนางนองวรวิหาร เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร (34).jpg|thumb|พระพุทธรูปทรงเครื่อง พระประธานภายในพระอุโบสถ[[วัดนางนองวรวิหาร]] [[กรุงเทพมหานคร]] สร้างขึ้นในยุค[[รัชกาลที่ 3]] ล้อกันกับภาพจิตรกรรมภายในพระอุโบสถ ที่เขียนเรื่องการปราบท้าวชมพูบดี]]
'''ชมพูบดีสูตร''' เป็น[[พระสูตร]]นอก[[พระไตรปิฎก]] จัดอยู่ในหมวด[[สุตตสังคหะ]] คือหนังสือในหมวด[[พระสุตตันตปิฎก|สุตตันตปิฎก]] กล่าวถึง[[พระพุทธเจ้า]]ทรงแสดงพระองค์เป็นพระจักรพรรดิราชทรมานท้าวมหาชมพูผู้เป็นมิจฉาทิฐิจนท้าวมหาชมพูเลื่อมใสออกผนวชเป็น[[พระอรหันต์]]<ref name="Santi">{{cite web |title=ชมพูบดีสูตร ฉบับสอบเทียบใบลาน |url=https://www.lirilumbini.com/images/lirilumbini/virtual_library_pdf/A_synoptic_romanized_edition_by_Santi_Pakdeekham.pdf}}</ref> สันนิษฐานว่าน่าจะมีต้นเค้ามาจากคัมภีร์ฝ่าย[[มหายาน]]และนํามาแต่งเป็นภาษาบาลีในภายหลัง พบต้นฉบับใน[[ประเทศไทย]] [[ประเทศพม่า]]<ref>Thiripyanchai U Mya, ''The Origin of the Jumbupati Image'', Report of the director of archaeology survey for the year ending (30 September 1959): 28-37.</ref> [[ประเทศกัมพูชา]]<ref>ศานติ ภักดีคํา, ''จิตรกรรมฝาผนังเรื่อง "ท้าวมหาชมพู" พระอุโบสถ วัดนางนองวรวิหาร'', เมืองโบราณ 32, 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2549): 3</ref> และ[[ประเทศลาว]]<ref>ณัฐา คุ้มแก้ว, ''การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมภาคใต้เรื่องพระยาชมพู'' (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552), 112.</ref>
เส้น 9 ⟶ 8:
 
==แก่นเรื่อง==
[[ไฟล์:วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (26).jpg|thumb|พระเจ้าชมพูบดีเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า จิตรกรรมฝาผนัง[[วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร]]]]
พระเจ้าชมพูบดีซึ่งประสูติเป็นโอรสแห่งเมืองปัญจาลนครและมีของวิเศษคู่กายคือฉลองพระบาท พระขรรค์และลูกศร ต่อมาได้เป็นกษัตริย์ครองเมือง มีมเหสีชื่อนางกาญจนเทวีมีโอรสชื่อ ศิริคุตราช
กุมาร วันหนึ่งพระเจ้าชมพูบดีเหาะไปเจอปราสาท[[พระเจ้าพิมพิสาร]]แล้วอิจฉาพยายามจะทําลาย แต่ไม่สามารถทำลายปราสาทได้ จึงส่งของวิเศษทั้งสองมาเพื่อจัดการรกับพระเจ้าพิมพิสาร จนพระเจ้าพิมพิสารต้องขอให้พระพุทธเจ้าช่วย