ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมบูรณาญาสิทธิราชย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Forms of government map}}
{{ระบอบการปกครอง}}
'''สมบูรณาญาสิทธิราชย์''' ({{lang-en|absolute monarchy}}) คือ ระบอบการปกครองที่[[ราชาธิปไตย|มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครอง]]และมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ[[อัตตาธิปไตย|แต่ผู้เดียว]] ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ พระบรมราชโองการและพระราชประสงค์ล้วนมีผลเป็นกฎหมาย<ref name="amorn">อมร รักษาสัตย์, [http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc พระราชอำนาจตามกฎหมาย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070927172557/http://www.mcu.ac.th/BO/Files/Doc/Article/artFile48.doc |date=2007-09-27 }}</ref> กษัตริย์ไม่ถูกยับยั้งด้วยกฎหมาย สภาหรือขนบธรรมเนียมใด ๆ<ref name="Harris2009">{{cite book|author=Nathanial Harris|title=Systems of Government Monarchy|url=https://books.google.com/books?id=o5SKJanyblIC&pg=PA49|year=2009|publisher=Evans Brothers|isbn=978-0-237-53932-0|pages=10}}</ref> ตำแหน่งกษัตริย์มักสืบทอดตามสายโลหิต ส่วนระบอบที่กษัตริย์ถูกจำกัดพระราชอำนาจด้วยรัฐธรรมนูญ สภาหรือขนบธรรมเนียมนั้น เรียกว่า [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
 
ราชาธิปไตยในบางประเทศมีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ทุกเมื่อตามพระราชอัธยาศัย ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ [[ประเทศซาอุดีอาระเบีย|ซาอุดีอาระเบีย]] [[ประเทศบรูไน|บรูไน]] [[ประเทศโอมาน|โอมาน]] [[เอสวาตินี]] [[กาตาร์]] [[สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] รวมทั้ง [[นครรัฐวาติกัน]] ด้วย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทย ==