ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักหอสมุดแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 5 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Infobox library
| name = หอสมุดแห่งชาติ
| name_en = National Library of Thailand<!-- Name in English if different -->
| logo = <!-- file name only (no Image: or File:) -->
| logo_size =
เส้น 8 ⟶ 7:
| image_size =
| alt =
| caption = สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
| country =
| type = หอสมุดแห่งชาติ
เส้น 21 ⟶ 20:
| num_branches =
| items_collected =
| collection_size = 3.2 ล้านเล่ม {{small|(20132556)}}
| criteria =
| legal_deposit =
เส้น 28 ⟶ 27:
| pop_served =
| members =
| budget = 86,840,300 บาท {{small|(20132556)}}
| director = กนกอร ศักดาเดช {{small|(20132556)}}
| num_employees = 197 คน {{small|(20132556)}}
| website = {{URL|www.nlt.go.th}}
| references =
เส้น 36 ⟶ 35:
| module =
}}
'''สำนักหอสมุดแห่งชาติ''' (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2448 โดยปัจจุบันตั้งอยู่ที่ [[ท่าวาสุกรี]] [[ถนนสามเสน]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเริ่มเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2509]] เป็นต้นมา เป็นหน่วยงานสังกัด [[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]]<ref>[http://www.nlt.go.th/en_index.htm National Library, Organization] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20140219214933/http://www.nlt.go.th/en_index.htm |date=2014-02-19 }}</ref>
 
ใน พ.ศ. 2556 หอสมุดนี้มีวัตถุข้างในมากกว่า 3 ล้านชิ้น และมีสาขาต่างจังหวัด 11 แห่ง โดยมีงบประมาณ 87 ล้านบาทและว่าจ้างพนักงานประมาณ 200 คน<ref name="NLT-AR-2014">{{cite web|title=NATIONAL LIBRARY OF THAILAND ANNUAL REPORT [2014]|url=http://www.ndl.go.jp/en/cdnlao/meetings/pdf/AR2014_Thailand.pdf| website=National Diet Library, Japan|publisher=National Library of Thailand|accessdate=14 February 2018}}</ref>
'''สำนักหอสมุดแห่งชาติ''' (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2448 โดยปัจจุบันตั้งอยู่ที่ [[ท่าวาสุกรี]] [[ถนนสามเสน]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเริ่มเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2509]] เป็นต้นมา เป็นหน่วยงานสังกัด [[กรมศิลปากร]] [[กระทรวงวัฒนธรรม]]
 
== ภูมิหลัง ==
[[File:Bangkok National Library - 2017-05-05 (003).jpg|thumb|left|ป้ายหอสมุดแห่งชาติ]]
จุดประสงค์หลักของหอสมุดแห่งชาติคือการสะสม, จัดเก็บ, รักษา และบริหารทรัพย์สินทางปัญญาของชาติทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงสื่อ โดนมีชุดสะสมของเอกสารตัวเขียนไทย,<ref>{{cite web|last1=Reeder|first1=Matt|title=The National Library of Thailand, Manuscript Collection|url=http://dissertationreviews.org/archives/13975|website=Dissertation Reviews|date=2016-05-16}}</ref> ศิลาจารึก, ใบลาน, วรรณคดีไทย และสิ่งตีพิมพ์ เช่นเดียวกันกับวัตถุภาพและเสียงและทรัพยากรดิจิทัล
 
== ประวัติ ==
===หอพระสมุดวชิรญาณ===
หอพระสมุดวชิรญาณนั้น เดิมพระราชโอรสธิดา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมพระหฤทัยกันตั้งขึ้นเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระบรมชนกนาถ เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2426 แต่แรกอาศัยตั้งที่ห้องชั้นต่ำมุขกระสันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางตวันตก แล้วมาตั้งที่ตึกทิมดาบตรงหน้าพระที่นั่งจักรี เมื่อปี พ.ศ. 2430 แล้วย้ายออกมาตั้งที่ตึกอันเป็นหอสหทัยสมาคม เมื่อปี พ.ศ. 2434 หอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอสมุดของสโมสรสมาชิกอยู่ตลอดสมัยที่กล่าวมา รวมเวลา 21 ปี
 
ในปีพุทธศักราช 2440 หลังจากที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จนิวัติพระนครกลับจากเสด็จประพาสยุโรป พระองค์ได้มีพระราชดำริว่า ในประเทศสยามนี้ยังไม่มีหอสมุดสำหรับพระนคร ประจวบกับวาระที่พระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกำลังจะเวียนมามาครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะทรงสถาปนาอนุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรดิสมเด็จพระบรมชนกนาถให้เป็นของถาวรสักอย่างหนึ่ง จึงทรงชักชวนพระราชวงศานุวงศ์ให้ทรงอุทิศถวายหอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอพระสมุดสำหรับพระนคร ให้ขยายกิจการหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งแต่เดิมทีเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล ให้เป็นหอสมุดสำหรับบริการประชาชนทั่วไป และพระราชทานนามว่า "หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร" โดยได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2448
เส้น 52 ⟶ 56:
 
==การรวบรวมหนังสือ==
 
หอพระมณเฑียรธรรมก่อตั้งในสมัยรัชกาลที่ 1 ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับหลวง ต่อมาจึงขยายไปสู่การรวบรวมฉบับมอญ สิงหล และหนังสืออื่นเนื่องในพุทธศาสนาด้วย สำหรับหอพุทธศาสนสังคหะก่อตั้งในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2443 เพื่อเก็บงานเกี่ยวกับพุทธศาสนาไว้ในที่เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นพระไตรปิฎกในภาษาต่าง ๆ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา งานวิชาการ ไวยากรณ์บาลี งานแปล หนังสือเทศนา หนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนาในภาษาลาว มอญ สิงหล ญี่ปุ่น และสันสกฤต ฯลฯ
 
ในปี พ.ศ. 2448 หลังจากที่หอสมุดวชิรญาณ หอพระมณเฑียรธรรม และหอพุทธศาสนสังคหะ รวมเข้าเป็นชื่อ หอพระสมุดสำหรับพระนคร ภายใต้การดูแลของกระทรวงธรรมการ ก็ได้มีประกาศของทางหอสมุดฯ แจ้งไปยังเทศาภิบาล ว่าประสงค์จะรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎก และหนังสือไทย ขอให้คนนำหนังสือมาบริจาค ให้ยืมคัดลอกหรือขายแก่หอสมุดฯ เมื่อหนังสือหลั่งไหลเข้ามาก็พบกับหนังสือแปลก เช่น หนังสือที่เขียนโดยเจ้านายและขุนนางในอดีต อย่าง ''[[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]]'' ซึ่งพบขณะที่ยายแก่คนหนึ่งกำลังจะเอาไปเผาไฟรวมกับเอกสารอื่น พบว่าหนังสือฉบับนี้เก่าแก่กว่าฉบับอื่น ๆ เท่าที่พบมา ยังมีหนังสือแปลก ๆ ที่พบมาจากทางวังหน้า เป็นบันทึกประวัติศาสตร์สมัยต้นราชวงศ์จักรีชิ้นหนึ่ง คือ ''จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี'' ซึ่งทำให้พบมุมมองประวัติศาสตร์ใหม่ ๆ ของบ้านเมือง หนังสือแปลกอีกประเภทคือ [[หนังสือใบลาน]] ที่อธิบายเรื่องราวแปลก ๆ เช่น การบรรยายถึงพิธีกรรมแปลก ๆ คาถาอาคม ลายแทง
 
สำหรับหมวดหนังสือต่างประเทศ เริ่มแรกได้มอบหมายให้บรรณารักษ์ชาวตะวันตกชาลส์ สไวสตรัป ทำรายชื่อหนังสือของหอสมุดวชิรญาณออกมาในปี พ.ศ. 2435 ชื่อว่า ''Catalogue of the Books of the Royal Vajirajan Library by Order of H.R.H. Krom Hmun Damrong Rachanphap'' จำแนกหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ความรู้ตามมาตรฐานตะวันตก โดยแบ่งออกเป็นเรื่อง แพทย์ศาสตร์ ปรัชญาธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ กฎหมาย สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์การเมืองและสถิติ การเงินและการพาณิชย์ การทหาร นาวิกศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดีบริสุทธิ์ โบราณคดี วิศวกรรมศาสตร์ การค้าและอุตสาหกรรม เทววิทยา เป็นต้น
เส้น 116 ⟶ 119:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikisource|1=นิทานโบราณคดี/นิทานที่ ๙|2=''หนังสือหอหลวง'' โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ}}
* [http://bangkoklibrary.com/content/118-national-library-thailand Review and photographs inside the National Library, edited by Bangkok Library website]
 
* [http://www.nlt.go.th/ หอสมุดแห่งชาติ]
เส้น 121 ⟶ 125:
{{geolinks-bldg|13.752097|100.505344}}
 
{{Authority control}}
 
 
[[หมวดหมู่:กระทรวงวัฒนธรรม]]