ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร (ไชยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 6:
|height = {{convert|63|cm|in|abbr=on}}<ref name = bkk/>
|created = พุทธศตวรรษที่ 14
|discovered_date = พ.ศ. 2448
|discovered_by = [[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]
|discovered_place = [[อำเภอไชยา]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]]<ref name = psu />
บรรทัด 29:
 
== ประวัติ ==
[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]เป็นผู้ทรงค้นพบประติมากรรมนี้ที่[[วัดพระบรมธาตุไชยา]]<ref name = bdd>{{cite web |url= https://mgronline.com/daily/detail/9490000120681 |title=พุทธบูรณารำลึก 100 ปี ชาตกาล สืบสานปณิธานพุทธทาส (ตอนที่ 22) |author=สุวินัย ภรณวลัย |date=2006-09-26 |website= |publisher= MGR Online|access-date= 2021-11-01|lang=th}}</ref> (บางแหล่งระบุว่าเป็น[[วัดเวียง (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)|วัดเวียง]]<ref name = bkk/><ref>{{cite web |url= https://oer.learn.in.th/search_detail/result/94631 |title=พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร|author=ฐิติมา ธรรมบำรุง |date=2018-05-12 |website= |publisher= คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติฯ|access-date= 2021-11-01|lang=th}}</ref>) [[อำเภอไชยา]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] เมื่อ พ.ศ. 2448 โดยพบที่บริเวณนอกกำแพงชั้นนอกทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามที่ระบุไว้ในจดหมายระยะทางไปตรวจราชการแหลมมลายู ร.ศ. ๑๒๑ ของ[[สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]<ref>{{cite book |author= [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์|นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา]]|date=1974 |title=จดหมายระยะทางไปตรวจราชการแหลมมลายู ร.ศ. ๑๒๑ (พิมพ์ครั้งที่ 2) |url=https://www.finearts.go.th/songkhlalibraryk/view/16693-จดหมายระยะทางไปตรวจราชการแหลมมลายู-ร-ศ--๑๒๑ |location= กรุงเทพมหานคร |publisher= ประชาช้าง}}</ref> [[มานิต วัลลิโภดม]]สันนิษฐานว่าจุดที่พบอยู่ใกล้กับวิหารพระศิลาแดงสามองค์ซึ่งมีระบุสัญลักษณ์เป็นกล่องสี่เหลี่ยมไว้ในแผนผังของวัดที่ปรากฏในเอกสารดังกล่าว<ref name = slp>{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_10184 |title=ประติมากรรมชำรุด แต่งามที่สุดในสยาม |author=ศิลปวัฒนธรรม นำชม |date=2021-05-26 |website= |publisher= ศิลปวัฒนธรรม|access-date= 2021-11-01|lang=th}}</ref> [[พุทธทาสภิกขุ]]ระบุว่าเมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพ "ทอดพระเนตรเห็นตั้งแต่บนหลังช้าง ช้างยังไม่ทันจะทรุดตัวลงอย่างเรียบร้อย ท่านรีบลงมาอย่างกะว่าจะหล่นลงมา ตรงไปอุ้มรูปนี้ขึ้นด้วยพระองค์เอง" พร้อมนำถวายแด่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งพระองค์ "ทรงจ้องอย่างตื่นเต้น และตรัสด้วยความตื่นเต้นว่า 'อะไรของเธอ ๆ ดำรง'"<ref name = slp/>
 
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรนี้เก็บรักษาไว้ใน[[พระบรมมหาราชวัง]]นับจากนั้น และถูกนำมาเก็บเป็นของสะสมของ[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]]ภายหลัง[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานไว้ให้กับพิพิธภัณฑ์<ref name = slp/>
บรรทัด 44:
|author=[[พุทธทาสภิกขุ|พุทธทาส]]
|title=
|source=พุทธทาส สวนโมกขพลาราม กําลังกำลังแห่งการหลุดพ้น (1998)<ref name = bddb />
}}
 
มักเป็นที่กล่าวกันว่าอินทปัญโญเกิดความสนใจในโบราณคดีและการศึกษาประวัติศาสตร์ของศรีวิชัยและคาบสมุทรภาคใต้ของไทยจากความประทับใจในครั้งนี้<ref name = bdd/> จนต่อมาท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สาขาประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี รวมถึงมีส่วนร่วมมากในกิจกรรมโบราณคดีและประวัติศาสตร์ในพื้นที่<ref name = bdda>{{cite web |url=http://www.e4thai.com/e4e/images/bio-buddhadasa.pdf#page=44 |title=ประวัติและผลงานของท่านพุทธทาส |author=สุมาลัย กาลวิบูลย์ |access-date=2021-11-01 |quote=}}</ref>
 
ขณะก่อสร้างสวนโมกข์ อินทปัญโญได้ให้อดีตพระโกวิท เขมานันทะ เป็นผู้หล่อรูปปั้นจำลองของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรมาไว้<ref name = bdda/> สาเหตุการนำมาตั้งนั้น ท่านระบุว่า "...[ให้]ตั้งไว้ในที่เห็นโดยง่าย พอคุณเป็นทุกข์อะไรขึ้นมาโกรธอะไรขึ้นมา มองหน้าอวโลกิเตศวรจะหาย เอาไปใช้แบบนี้ ดูหน้าแล้วสบายใจ"<ref name = bddb>{{cite book |author= พุทธทาส|author-link= พุทธทาสภิกขุ |date=1998 |title= พุทธทาส สวนโมกขพลาราม กําลังกำลังแห่งการหลุดพ้น|url=https://books.google.co.th/books/about/พุทธทาส_สวนโมก.html?id=uC7YAAAAMAAJ&redir_esc=y |location=นนทบุรี |publisher=หจก.ภาพพิมพ์ |page= |isbn=9747680386}}</ref>
 
== อ้างอิง ==