183
การแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
ต่อมาเมื่อมีการดัดแปลงกลายเป็น[[ภาษาไทย]]ทั้งหมด จึงเรียกกันว่า “ลิเกลำตัด” ในระยะแรก และเรียกสั้น ๆ ในเวลาต่อมาว่า “ลำตัด” ซึ่งมีลักษณะของเพลง และทำนองเพลงที่นำมาให้ลูกคู่รับโดยมากก็มักตัดมาจากเพลงร้องหรือเพลงดนตรีอีกชั้นหนึ่ง โดยเลือกเอาแต่ตอนที่เหมาะสมแก่การร้องนี้มาเท่านั้น ลำตัดเป็นการตั้งชื่อที่เหมาะสม เรียบง่าย มีความหมายรู้ ได้ดีมาก กล่าวคือ ตามความหมายเดิม “ลำ” แปลว่า เพลง เมื่อนำมารวมกับคำว่า “ตัด” หมายถึง การนำเอาเพลงพื้นบ้านอื่น ๆ อีกหลายชนิดมา ตัดรวมเข้าเป็นบทเพลง เพื่อการแสดงลำตัด
เช่น ตัดเอา [[เพลงเกี่ยวข้าว]] [[เพลงฉ่อย]] [[เพลงเรือ]] [[เพลงพวงมาลัย]] และ [[เพลงอีแซว]] เป็นต้น เข้ามาเป็นการละเล่นที่เรียกว่าลำตัด
<gallery>
ไฟล์:ลำตัด.jpg|การแสดงลำตัด ณ สังคีตศาลา
</gallery>
{{ศิลปะการแสดงไทย}}
{{มรดกภูมิปัญญาชาติ/ศิลปะการแสดง}}
|
การแก้ไข