ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ymrttw (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขข้อความให้เข้าใจง่ายขึ้น+แก้คำผิด
Ymrttw (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแหล่งอ้างอิง
บรรทัด 3:
'''โรมาจิ''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字 โรมาจิ: Rōmaji) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 訓令式 โรมาจิ: Kunrei-shiki [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: คุนเรชิกิ) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ヘボン式 โรมาจิ: Hebon-shiki [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: เฮบงชิกิ) '''ระบบนิฮง''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本式 โรมาจิ: Nihon-shiki [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: นิฮงชิกิ) เป็นต้น
 
ในปี ค.ศ. 1954 ซึ่งตรงกับ([[โชวะ (ศักราช)|ปีโชวะ]]ที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: Rōmaji no tsuzurikata) ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref>
 
นอกจากนี้ ใน "'''แนวปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 小学校学習指導要領 โรมาจิ: Shōgakkō gakushū shidō yōryō) ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2017 (ปี[[เฮเซ]]ที่ 29) ยังได้กำหนดให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิธีการถอดภาษาญี่ปุ่นเป็นอักษรโรมัน (โรมาจิ) ตามข้อกำหนดข้างต้นทั้งในด้านการอ่านและการเขียนด้วย<ref>{{Cite web|date=|title=小学校学習指導要領解説:文部科学省:【国語編】小学校学習指導要領(平成29年告示)解説|url=https://www.mext.go.jp/a_menu/shotou/new-cs/1387014.htm|url-status=live|access-date=2021-10-28|website=文部科学省ホームページ|language=ja}}</ref> อย่างไรก็ตาม โรมาจิมีการใช้ที่จำกัด เช่น ข้อความบนป้ายสาธารณะตามท้องถนน ชื่อและนามสกุลบนหนังสือเดินทาง และการป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์<ref>{{Cite book|last=Iwata|first=Kazunari|url=https://www.worldcat.org/oclc/1160201927|title=Meikai Nihongogaku jiten|last2=岩田一成|date=|others=Takurō Moriyama, Katsumi Shibuya, 卓郎 森山, 勝己 渋谷|year=2018|isbn=978-4-385-13580-9|location=Tōkyō|pages=164|language=ja|chapter=ローマ字 (the Roman alphabet)|oclc=1160201927}}</ref>
 
== อักขรวิธี ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โรมาจิ"